Page 26 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 26

11





                             4)   กลุ่มชุดดินที  7  มีเนื<อที  442,223 ไร่ หรือร้อยละ 8.71 ของเนื<อที จังหวัด พบบริเวณที

                  ราบตะกอนนํ<าพา มีสภาพพื<นที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดเทน้อยกว่า  2  เปอร์เซ็นต์ มีนํ<าขัง

                  เหนือผิวดิน 3-4 เดือน ในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที มีการระบายนํ<าเลวหรือค่อนข้างเลว เนื<อเป็นพวกดินเหนียว
                  มีเนื<อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียว ดินล่างเป็นดินเหนียว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ

                  ปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552)

                  มีศักยภาพเหมาะสมในการทํานาในช่วงฤดูฝน  หากพื<นที อยู่ในเขตชลประทานหรือใกล้แหล่งนํ<าธรรมชาติ

                  สามารถปลูกพืชไร่หรือพืชผักในช่วงฤดูแล้ง (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
                             5)   กลุ่มชุดดินที  15 มีเนื<อที  1,091,249 ไร่ หรือร้อยละ 21.49 ของเนื<อที จังหวัด

                  พบในบริเวณที ราบตะกอนนํ<าพา  มีสภาพพื<นที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ  ความลาดเทน้อยกว่า

                  2 เปอร์เซ็นต์ ในฤดูฝนจะมีนํ<าขังเหนือผิวดิน 4-5 เดือน มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลวหรือเลว เนื<อดินเป็น

                  พวกดินร่วนเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ ง หน้าดินแน่นทึบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์
                  ตามธรรมชาติตํ าถึงปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างเล็กน้อย (สํานักสํารวจดินและ

                  วางแผนการใช้ที ดิน, 2552) กลุ่มชุดดินที เหมาะกับการทํานา  และมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร่

                  และพืชผักในฤดูแล้ง (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
                             6)   กลุ่มชุดดินที  16   มีเนื<อที  153  ไร่ พบบริเวณที ราบตะกอนนํ<าพา  มีสภาพพื<นที

                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ  ความลาดชันน้อยกว่า  2  เปอร์เซ็นต์  ในฤดูฝนมีนํ<าขังที ผิวดิน

                  3-4 เดือน เนื<อดินป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินร่วนปนทรายแป้ ง หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ ง การ
                  ระบายนํ<าค่อนข้างเลวถึงเลว  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ าถึงค่อนข้างตํ าศักยภาพของกลุ่มชุด

                  ดินนี<เหมาะในการทํานามากกว่าปลูกพืชไร่ พืชผักและไม้ผลจัดมากถึงกรดปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรด

                  ปัญหาที สําคัญในการใช้ประโยชน์ที ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตํ าและหน้าดินแน่นทึบ (สํานัก
                  สํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) แต่สามารถปรับปรุงเพื อใช้ปลูกพืชไร่อายุสั<น และพืชผัก

                  ในฤดูแล้ง หรือหลังการเก็บเกี ยวข้าว ถ้ามีแหล่งนํ<าธรรมชาติเสริม (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)

                             7)    กลุ่มชุดดินที  17 มีเนื<อที  732 ไร่ หรือร้อยละ0.01 ของเนื<อที จังหวัด พบในบริเวณพื<นที

                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ความลาดเทอยู่ระหว่าง 0-2 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่ในฤดูฝนจะมีนํ<าขัง 3-4 เดือน
                  ในรอบปี เป็นดินลึกมากที มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลว มีเนื<อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด เนื<อดินบนเป็นพวก

                  ดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนเหนียว ในบางพื<นที อาจมีเนื<อดิน

                  เป็นพวกดินทรายแป้ งละเอียด มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด
                  (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) จึงเป็นอุปสรรคสําคัญในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก

                  และการมีนํ<าท่วมจะทําให้ต้นข้าวเสียหายในช่วงที ฝนตกชุก อย่างไรก็ตามกลุ่มชุดดินนี<มีศักยภาพเหมาะสมใน

                  การทํานาในช่วงฤดูฝนแล้วปลูกพืชไร่ และพืชผักก่อนหรือหลังการปลูกข้าว (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31