Page 27 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 27

12





                             8)   กลุ่มชุดดินที  18  มีเนื<อที  150,210  ไร่ หรือร้อยละ 2.96  ของเนื<อที จังหวัด  พบบริเวณ

                  ตะพักลํานํ<าระดับตํ า เป็นพื<นที ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ ความลาดเทน้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ ในฤดูฝนมี

                  นํ<าขังเหนือผิวดิน  3-4  เดือน  เป็นดินลึกที มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลวเป็นส่วนใหญ่  เนื<อดินบน
                  เป็นพวกดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียว มีความอุดม

                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า ดินชั<นบนมักมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง ดินชั<นล่างเป็นกรด

                  ปานกลางถึงเป็ นด่างเล็กน้อย (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) ศักยภาพของ

                  กลุ่มชุดดินนี<เหมาะในการทํานามากกว่าปลูกพืชไร่  พืชผักและไม้ผล  แต่สามารถใช้ปลูกพืชไร่อายุสั<น
                  และพืชผักในฤดูแล้งหรือหลังการเก็บเกี ยวข้าว ถ้ามีแหล่งนํ<าธรรมชาติเสริม (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)

                             9)   กลุ่มชุดดินที  19  มีเนื<อที  141,198 ไร่ หรือร้อยละ 2.78 ของเนื<อที จังหวัด  พบใน

                  บริเวณพื<นที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ความลาดเท 1-4 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่มีนํ<าแช่ขังในช่วงฤดูฝน

                  เป็นดินลึกที มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลว เนื<อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ดินล่างเป็นชั<นดิน
                  แน่นทึบ มีเนื<อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินทราย มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า

                  มีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย พบปัญหาที สําคัญคือ เนื<อดินบนค่อนข้างเป็นทราย

                  และดินล่างแน่นทึบไม่เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช ถ้าฝนตกลงมาดินจะแช่ขัง แต่ถ้าฝนทิ<งช่วง
                  ดินจะขาดนํ<า (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) ศักยภาพที เหมาะสมในการใช้ประโยชน์

                  ได้แก่  การพัฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์  แต่ถ้าจะใช้ปลูกพืชไร่  และไม้ผล  ต้องลงทุนในการปรับปรุง

                  แก้ไขมาก (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
                             10)   กลุ่มชุดดินที  20   มีเนื<อที  88,379  ไร่ หรือร้อยละ 1.74  ของเนื<อที จังหวัด  พบใน

                  บริเวณที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดเท 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีนํ<าแช่ขังช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที มี

                  การระบายนํ<าค่อนข้างเลวถึงดี เนื<อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ส่วนดินล่างเป็นชั<นดินแน่น
                  ทึบที มีการสะสมเกลือโซเดียม มีเนื<อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนปนดินเหนียว มีความ

                  อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า ดินชั<นบนมักจะมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัด ส่วนดินชั<นล่างมักมีปฏิกิริยาเป็น

                  กรดปานกลางถึงเป็นกลาง แต่ถ้ามีก้อนปูนปะปนจะมีปฏิกิริยาเป็นกลางถึงด่างจัด ตามปกติฤดูแล้งจะมี

                  คราบเกลือเกิดขึ<นทั วไปบนผิวดิน (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) ดินในสภาพเดิมจึงไม่

                  เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจเนื องจากจัดเป็นดินเค็ม  จะต้องปรับปรุงแก้ไขเพื อลดความเค็มของดิน
                  จึงสามารถปลูกพืชบางชนิดได้  พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที สุด  โดยส่วนมากใช้ปลูกข้าว

                  ซึ งให้ผลผลิตตํ าถึงค่อนข้างตํ า  หากปีใดที ฝนแล้งนํ<าไม่เพียงพอ  ต้นข้าวจะตายเป็นหย่อม ๆ เนื องจาก
                  ความเค็มของดิน (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)

                             11)   กลุ่มชุดดินที  22   มีเนื<อที   347,487 ไร่ หรือร้อยละ 6.84  ของเนื<อที จังหวัด  พบใน

                  บริเวณที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ความลาดเท 0-3 เปอร์เซ็นต์ ในฤดูฝนมีนํ<าขัง 2-5 เดือนในรอบปี

                  เป็นดินลึกที มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลว เนื<อดินเป็นดินร่วนหยาบ โดยมีเนื<อดินบนเป็นพวกดินร่วน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32