Page 35 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 35

20





                                   (7)   ลําห้วยสําราญ เป็นลําห้วยที แบ่งอาณาเขตจังหวัดสุรินทร์กับจังหวัดศรีสะเกษ

                  ต้นนํ<าเกิดจากเขาพนมดัจ (เขาขาด) และพนมซแร็ยซระน็อฮ (เขานางโศก) ไหลผ่านเขตอําเภอบัวเชด

                  และอําเภอสังขะ มีพื<นที รับนํ<า 485 ตารางกิโลเมตร
                                   (8)   ลําห้วยเสน  ต้นนํ<าเกิดจากเขาพนมดงรัก ไหลผ่านเขตอําเภอสังขะ อําเภอศรีณรงค์


                  เป็นแหล่งนํ<าที ใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร การเลี<ยงสัตว์ ในฤดูแล้งนํ<าแห้งเป็นบางช่วงของลําห้วย
                                   (9)   ลําห้วยระหาร  ไหลผ่านเขตอําเภอเมืองสุรินทร์ ในฤดูฝนนํ<าจะท่วมหลาก

                  แต่ในฤดูแล้งนํ<าจะแห้งขอด ไม่สามารถกักเก็บนํ<าไว้ใช้ประโยชน์ได้
                                   (10)   ลําห้วยจริง  เป็นลําห้วยที แบ่งอาณาเขตอําเภอศีขรภูมิกับอําเภอโนนนารายณ์


                  และอําเภอสําโรงทาบ
                             2)   แหล่งนํ<าชลประทาน

                                   (1)   อ่างเก็บนํ<า จากรายงานของสํานักงานชลประทานจังหวัดสุรินทร์ (2552)
                  พบว่าในจังหวัดสุรินทร์มีอ่างเก็บนํ<าขนาดกลางทั<งสิ<น 22  แห่ง   และอ่างเก็บนํ<าขนาดเล็กจํานวน 333

                  แห่ง อําเภอปราสาทมีจํานวนอ่างเก็บนํ<ามากที สุด  โดยอ่างเก็บนํ<าที สําคัญในจังหวัดสุรินทร์ ได้แก่

                                         -    อ่างเก็บนํ<าห้วยเสนง  ตั<งอยู่ที บ้านทําเนียบ ตําบลเฉนียง อําเภอเมือง
                  สุรินทร์ เริ มก่อสร้างเมื อปี พ.ศ. 2483 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2521 กั<นลํานํ<าห้วยเสนง ปริมาณนํ<าที ระดับเก็บกัก

                  ปกติ 20.02 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งนํ<าเพื อการเกษตรพื<นที ชลประทาน 50,000 ไร่ และพื<นที ปลูกพืชในฤดูแล้ง

                  3,050 ไร่  (สํานักงานชลประทานที  8,  2550) นอกจากนี<ยังเป็นแหล่งนํ<าสําคัญในการผลิตนํ<าประปา
                  ของจังหวัด ปีละประมาณ 8.67 ล้านลูกบาศก์เมตร (สํานักงานจังหวัดสุรินทร์, 2553ข)

                                         -    อ่างเก็บนํ<าบ้านทํานบ  ตั<งอยู่ที โอทะลัน ตําบลจรัส อําเภอบัวเชด  เริ ม

                  ก่อสร้างเมื อปี พ.ศ. 2528  แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2533  กั<นลํานํ<าห้วยเสียดเจิง  ปริมาณนํ<าที ระดับเก็บกัก
                  ปกติ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร ครอบคลุมพื<นที โครงการ 10,000 ไร่ ส่งนํ<าเพื อการเกษตรพื<นที

                  ชลประทานในพื<นที ปลูกพืชในฤดูฝน 10,000 ไร่ และพื<นที ปลูกพืชในฤดูแล้ง 300 ไร่  (สํานักงาน

                  ชลประทานที  8, 2550)

                                         -    อ่างเก็บนํ<าห้วยด่าน ตั<งอยู่ที บ้านด่านพัฒนา ตําบลด่าน อําเภอกาบเชิง
                  เริ มก่อสร้างเมื อปี พ.ศ. 2528  แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2531  กั<นลํานํ<าห้วยปาง ปริมาณนํ<าที ระดับเก็บกัก

                  ปกติ 9.40 ล้านลูกบาศก์เมตร ครอบคลุมพื<นที โครงการ 8,000 ไร่ ส่งนํ<าเพื อการเกษตรพื<นที

                  ชลประทานในพื<นที ปลูกพืชในฤดูฝน 8,000  ไร่ และพื<นที ปลูกพืชในฤดูแล้ง 1,000  ไร่  (สํานักงาน

                  ชลประทานที  8, 2550)
                                         -    อ่างเก็บนํ<าลําพอก ตั<งอยู่ที บ้านตาพรม ตําบลยาง อําเภอศีขรภูมิ  เริ ม

                  ก่อสร้างเมื อปี พ.ศ. 2496  แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2498  กั<นลํานํ<าห้วยลําพอก ปริมาณนํ<าที ระดับเก็บกัก

                  ปกติ 11.20 ล้านลูกบาศก์เมตร ครอบคลุมพื<นที โครงการ 9,463 ไร่ ส่งนํ<าเพื อการเกษตรพื<นที
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40