Page 29 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 29

14





                  ของกลุ่มชุดดินนี<มีเหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิดทั<ง  พืชไร่  ไม้ผล  และพืชผัก (กรมพัฒนาที ดิน,

                  2548ข)

                             15)   กลุ่มชุดดินที  35  มีเนื<อที   6,695 ไร่ หรือร้อยละ 0.13  ของเนื<อที จังหวัด พบกระจาย
                  อยู่มากในพื<นที ดอนที มีสภาพเป็นลูกคลื นจนถึงเนินเขาหรือพื<นที ภูเขา ความลาดเทอยู่ระหว่าง 2 –20

                  เปอร์เซ็นต์ มีการระบายนํ<าดีหรือดีปานกลาง เป็นดินลึกเนื<อดินเป็นดินร่วนละเอียดที มีเนื<อดินบนเป็นดิน

                  ร่วนปนทราย ส่วนดินล่าง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัด

                  มาก (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) โดยทั วไปกลุ่มชุดดินนี<เหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร่
                  พืชล้มลุก  ไม้ผล  ไม้ยืนต้น  หรือใช้ทําทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์  แต่ไม่เหมาะในการทํานา เนื องจากสภาพ

                  พื<นที ไม่เหมาะสม  อย่างไรก็ตามยังมีข้อจํากัดในการปลูกพืชหลายอย่าง เช่น ความอุดมสมบูรณ์ตํ า

                  ความสามารถในการอุ้มนํ<าตํ า และเสี ยงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเฉพาะบริเวณที มีความลาดชันสูง

                  (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)
                             16)   กลุ่มชุดดินที  36   มีเนื<อที   16,470 ไร่ หรือร้อยละ 0.32  ของเนื<อที จังหวัด  พบบริเวณ

                  พื<นที ดอนที มีสภาพพื<นที เป็นลูกคลื นลอนลาดจนถึงเนินเขา ความลาดเทอยู่ระหว่าง  2-12  เปอร์เซ็นต์

                  ลักษณะดินเป็นดินลึก มีการระบายนํ<าดีถึงดีปานกลาง  เนื<อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด เนื<อดินบน
                  เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน ส่วนดินชั<นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนเหนียว สีนํ<าตาล

                  สีเหลืองหรือสีแดง  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างตํ าถึง

                  ปานกลาง เนื องจากเนื<อดินค่อนข้างเป็นทราย ซึ งทําให้ดินอุ้มนํ<าได้น้อย พืชอาจขาดแคลนนํ<าได้ในช่วงฝน
                  ทิ<งช่วงเป็นระยะเวลานาน ๆ สําหรับบริเวณที มีความลาดชันสูงอาจมีปัญหาเรื องการชะล้างพังทะลาย

                  เกิดขึ<น (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) เหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิดทั<งพืชไร่

                  ไม้ผล หรือไม้ยืนต้น และผักบางชนิด ไม่เหมาะสมกับการทํานา (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)
                             17)   กลุ่มชุดดินที  37   มีเนื<อที  173,045  ไร่ หรือร้อยละ 3.41  ของเนื<อที จังหวัด  พบบริเวณ

                  พื<นที ดอนที มีสภาพพื<นที เป็นลูกคลื นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชันระหว่าง  2-16  เปอร์เซ็นต์  เป็นดินลึก

                  มีการระบายนํ<าดีปานกลาง เนื<อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน สีนํ<าตาล  ส่วนดินล่างในระดับความลึก

                  50-100 เซนติเมตร เป็นดินเหนียว ดินเหนียวปนเศษหิน หรือเป็นชั<นหินผุ สีนํ<าตาลปนเทา อาจพบจุดประ
                  สีแดง และศิลาแลงอ่อนปะปนอยู่เป็นจํานวนมาก มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติอยู่ในเกณฑ์ตํ า ปฏิกิริยา

                  เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดมาก (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) ในช่วงฤดูฝนดินเปียกแฉะ

                  เกินไปสําหรับพืชบางชนิด เหมาะสําหรับพัฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์ ปลูกไม้ผลหรือไม้โตเร็ว ปลูกพืชไร่
                  ผักบางชนิด และพื<นที เพื อพัฒนาแหล่งนํ<า (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)

                             18)   กลุ่มชุดดินที  38  มีเนื<อที  12,048  ไร่ หรือร้อยละ 0.24  ของเนื<อที จังหวัด พบตามสัน

                  ดินริมนํ<าหรือที ราบตะกอนนํ<าพา เป็นพื<นที ดอนที มีสภาพพื<นที ค่อนข้างราบเรียบ ค่าความลาดเท

                  1-2 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึก ลักษณะเนื<อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนหยาบ สีดินเป็นสีนํ<าตาลอ่อน หรือสีเทา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34