Page 21 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 21

6






                                                         บทที  2

                                                      ข้อมูลทั วไป



                  2.1  ที ตั1งและอาณาเขต

                        จังหวัดสุรินทร์ ตั<งอยู่ระหว่างเขตเส้นรุ้งที  14 องศา 30 ลิปดา-15 องศา  30 ลิปดา  เหนือ และ

                  ระหว่างเขตเส้นแวงที  103 องศา-104  องศา  15  ลิปดา ตะวันออก พื<นที ส่วนใหญ่สูงจากระดับทะเล
                  ปานกลางเฉลี ย  200  เมตร ระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ โดยทางรถยนต์ประมาณ 450 กิโลเมตร และ

                  ทางรถไฟ ประมาณ  420 กิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 17 อําเภอ 158 ตําบล  2,120 หมู่บ้าน

                  1 เทศบาลเมือง 24 เทศบาลตําบล  147 องค์การบริหารส่วนตําบล (สํานักงานจังหวัดสุรินทร์, 2553ก)

                  มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด  ต่าง ๆ และประเทศเพื อนบ้าน ดังนี< (ภาพที  2)
                             ทิศเหนือ         ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด  และจังหวัดมหาสารคาม

                             ทิศตะวันออก      ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ

                             ทิศใต้           ติดต่อกับจังหวัดอุดรมีชัย  ราชอาณาจักรกัมพูชา
                             ทิศตะวันตก       ติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์



                  2.2    ลักษณะภูมิประเทศ

                        จังหวัดสุรินทร์ตั<งอยู่ทางตอนใต้ของที ราบสูงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ด้านเหนือของจังหวัด
                  ในเขตอําเภอชุมพลบุรี  และอําเภอรัตนบุรี  ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด  และมหาสารคาม  เป็นพื<นที ราบลุ่ม

                  มีแม่นํ<ามูลและลํานํ<าชีไหลผ่าน  ลักษณะพื<นที ค่อนข้างราบเรียบ  (nearly  flat)  ถึงลูกคลื นลอนลาด

                  (undulating) แล้วลาดตํ าลงสู่แม่นํ<ามูล และลําห้วยพลับพลา ที อยู่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ พื<นที บริเวณนี<เป็น
                  ป่าผสมกับการทํานา ป่าส่วนใหญ่เป็นป่าแดงโปร่ง  (dry dipterocarps forest) ถัดลงไปเป็นบริเวณตอนกลาง

                  ของจังหวัด มีลักษณะเป็นลูกคลื นลอนลาดสลับกับพื<นที ราบ โดยเป็นที พื<นที ราบลุ่มเป็นส่วนใหญ่ จึงมี

                  สภาพเป็นพื<นที ป่าผสมนา ส่วนทางด้านใต้ของจังหวัดเป็นที สูงของเทือกเขาพนมดงรัก ที มีเขตติดต่อกับ
                  ราชอาณาจักรกัมพูชา ได้แก่  บริเวณอําเภอกาบเชิง  และอําเภอบัวเชด  มีสภาพเป็นป่าทึบ และภูเขา

                  สลับซับซ้อน มีป่าไม้เบญจพรรณ (mixed deciduous forest) และแนวภูเขาตลอด (สํานักสํารวจดินและวาง

                  แผนการใช้ที ดิน, 2549)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26