Page 119 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 119

104






                  3.4   ผลกระทบจากการเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดิน

                        3.4.1  ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
                             จากปัญหาจํานวนประชากรที เพิ มมากขึ<น จึงเกิดการบุกรุกทําลายป่าไม้เพื อทําเป็นพื<นที

                  เกษตร และที อยู่อาศัย ทําให้เกิดปัญหาการลดลงของพื<นที ป่าไม้ ในจังหวัดสุรินทร์พบว่าพื<นที ป่าไม้ใน

                  ภาพรวมลดลง 19,127 ไร่ หรือลดลงร้อยละ 3.88 ของพื<นที เดิม  ในระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554 ทําให้
                  พื<นที ป่าไม้โดยภาพรวมจากปี พ.ศ. 2554  เหลือเพียงร้อยละ 9.34  ของเนื<อที จังหวัด  ปัญหาพื<นที ป่าที

                  ลดลงส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศป่ า และความหลากหลายทางชีวภาพ  ทําให้สภาพภูมิอากาศ

                  แปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั<ง และทวีความรุนแรงมากขึ<น ระบบนิเวศในหลาย

                  พื<นที ของโลกอ่อนแอลง  สูญเสียพันธุ์พืช และสัตว์  พื<นผิวโลกมีการเปลี ยนแปลงทางกายภาพ
                  โดยเฉพาะการสูญเสียพื<นที ชายฝั งเนื องจากระดับนํ<าทะเลที สูงขึ<น นําไปสู่การย้ายถิ นของประชากรที

                  อยู่อาศัยบริเวณชายฝั งทะเล  รวมทั<งสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างพื<นฐาน  เขตท่องเที ยว

                  เขตอุตสาหกรรมที มีการลงทุนสูงบริเวณพื<นที ชายฝั ง โรคระบาดเพิ มขึ<นก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของ
                  ประชากร  รวมทั<งการระบาดของโรค และแมลงศัตรูพืชจากสภาพอากาศที เปลี ยนแปลง  สร้างความ

                  เสียหายแก่ผลผลิตทางการเกษตรและธัญญาหารของโลก  รวมทั<งกระทบต่อภาคสังคม  อาทิ  ปัญหา

                  ความยากจน  การอพยพย้ายถิ น  และการแย่งชิงทรัพยากร  ซึ งเป็นแหล่งพึ งพิงในการดํารงชีวิตของ

                  ชุมชน  และเป็นพื<นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต โดยจากร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                  และสังคมแห่งชาติ ฉบับที  11  (พ.ศ. 2555–2559) (สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม

                  แห่งชาติ, 2554ข) ได้ให้ความสําคัญต่อการรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว้ ได้กําหนดเป้ าหมายที จะเพิ ม

                  ความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพโดยรักษาพื<นที
                  อนุรักษ์ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ  19  เพิ มพื<นที ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ  40  ของพื<นที ประเทศ  และเพิ มพื<นที

                  ป่าชายเลนไม่น้อยกว่าปีละ 5,000 ไร่ และเพิ มประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื อให้มี

                  การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรได้อย่างยั งยืน โดยกําหนดแนวทางพัฒนาไว้ดังนี<

                             1)    การอนุรักษ์ ฟื<นฟู และสร้างความมั นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม
                  มีแนวทางหลัก

                                   (1)  คุ้มครอง ป้ องกัน รักษา ฟื<นฟูพื<นที ป่าไม้ และเขตอนุรักษ์ จัดทําแนวเขต
                  พื<นที อนุรักษ์ สนับสนุนการปลูกป่าของครัวเรือนและชุมชน

                                   (2)  พัฒนาระบบฐานข้อมูล  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์  และการจัดการองค์

                  ความรู้  โดยสนับสนุนให้มีการจัดทําแผนที แนวเขตที ดินของรัฐและการใช้ประโยชน์ในเขตพื<นที

                  อนุรักษ์ให้เกิดความชัดเจน ปรับปรุงระบบการจัดทําฐานข้อมูลพื<นที ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที ดิน
                  ในเขตอนุรักษ์  โดยใช้ระบบเทคโนโลยีอวกาศและภาพถ่ายดาวเทียม  ให้เป็นมาตรฐาน และเป็น

                  ที ยอมรับร่วมกัน สามารถติดตามตรวจสอบการเปลี ยนแปลงพื<นที ป่าและการใช้ประโยชน์ที ดินได้
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124