Page 123 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 123

108





                  พนมดงรัก  และป่าฝั งซ้ายห้วยทับทันแปลง  3 ในอําเภอสังขะ  โดยเป็นพื<นที ปลูกมันสําปะหลังมากที สุด

                  รองลงมาคือ พื<นที ปลูกอ้อย ยางพารา และนาข้าว ตามลําดับ

                             3.    พื<นที ในเขตชลประทานจังหวัดสุรินทร์มีเนื<อที ทั<งหมด 175,588 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                  3.46  ของเนื<อที จังหวัด ซึ งมีการใช้ที ดินเป็นพื<นที เกษตรกรรม 125,701 ไร่ ร้อยละ 71.59 ของเนื<อที ในเขต

                  ชลประทาน โดยพบว่าเป็นพื<นที นาข้าวมากที สุด  112,805 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 64.24 ของเนื<อที ในเขต

                  ชลประทาน และยังพบว่ามีพื<นที เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ทุ่งหญ้า พื<นที ไม้ละเมาะ เหลืออยู่ 9,476  ไร่ คิดเป็น

                  ร้อยละ 5.40 ของเนื<อที ในเขตชลประทาน ซึ งยังไม่มีการใช้ที ดินให้เต็มพื<นที ของเขตชลประทาน และ
                  พื<นที ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มชุดดินที  15 ซึ งมีศักยภาพเหมาะสมที จะพัฒนาเป็นพื<นที นาข้าวได้

                        4.1.2  สรุปการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดินจังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2549 และ ปี พ.ศ. 2554

                            จากการเปรียบเทียบสภาพการใช้ที ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2549 และปี พ.ศ. 2554 พบว่าสภาพ

                  การใช้ที ดินมีการเปลี ยนแปลงทั<งในลักษณะพื<นที เพิ มขึ<นและพื<นที ลดลงที สําคัญคือ
                             1.    พื<นที ชุมชนและสิ งปลูกสร้าง มีเนื<อที เพิ มขึ<น 10,551 ไร่ เนื องมาจากการขยายตัวของ

                  ชุมชน เป็นหมู่บ้านจัดสรร สถานที พักผ่อนหย่อนใจ ลานตากและแหล่งรับซื<อทางการเกษตร โรงงาน

                  อุตสาหกรรม และสถานที ราชการและสถาบันต่างๆ นอกจากนี<พบว่ามีพื<นที ป่าไม้เปลี ยนไปเป็นวัด และ
                  สถานที ราชการและสถาบันต่าง  ๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์วิทยาเขตธาตุ หน่วยจัดการต้นนํ<า

                  ห้วยด่าน สถานีควบคุมไฟป่าจังหวัดสุรินทร์ หน่วยป้ องกันรักษาป่าที  สร. 4 เป็นต้น

                             2.    พื<นที เกษตรกรรม เพิ มขึ<นจากปี พ.ศ. 2549  มีเนื<อที รวม 60,354  ไร่ เมื อพิจารณา
                  เป็นรายพืชที สําคัญ จะพบว่าพื<นที ปลูกยางพาราเพิ มขึ<นมากที สุด 129,187  ไร่ และรองลงมาได้แก่

                  พื<นที ปลูกอ้อยเพิ มขึ<น 100,416 ไร่ พื<นที ปลูกมันสําปะหลังเพิ มขึ<น 55,060 ไร่ และพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส

                  เพิ มขึ<น 33,942 ไร่ โดยเปลี ยนแปลงมาจากพื<นที นาข้าวมากที สุด ส่งผลให้พื<นที นาข้าวลดลง 110,534
                  ไร่ โดยเปลี ยนแปลงไปปลูกยางพารา 43,496 ไร่ พื<นที ปลูกอ้อย 49,620 ไร่ พื<นที ปลูกมันสําปะหลัง

                  14,153 ไร่ และพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส 21,775 ไร่ ตามลําดับ ทั<งนี<เนื องมาจากความต้องการวัตถุดิบ

                  ป้ อนโรงงานอุตสาหกรรม และราคาของผลผลิตที สูงขึ<น

                             3.    พื<นที ป่าไม้ โดยภาพรวมพื<นที ป่าไม้ของจังหวัดสุรินทร์ลดลง  19,127  ไร่ แต่เมื อ
                  พิจารณาในรายละเอียด พบว่า ป่าสมบูรณ์มีเนื<อที ลดลง 5,914 ไร่ เปลี ยนไปเป็นป่ารอสภาพฟื<นฟูมาก

                  ที สุด  ในขณะที ป่ารอสภาพฟื<นฟูมีพื<นที ลดลง 13,213 ไร่ โดยเปลี ยนแปลงไปเป็นพื<นที อื น ๆ มากที สุด

                  3,388 ไร่ โดยเฉพาะในพื<นที ป่ าสงวนในเขตอําเภอต่าง ๆ เช่น ในเขตป่ าเนิกเหิรดัดสันตุด

                  ในอําเภอปราสาท ป่าหนองเหล็ก ในอําเภอศรีขรภูมิ ป่าพนมดินแปลง 1  และ 2  ในอําเภอท่าตูม เป็นต้น
                  ซึ งมีสาเหตุหลักคือการเพิ มจํานวนของประชากรในจังหวัด จึงมีความต้องการพื<นที ทํากินเพิ มมากขึ<น

                             4.    พื<นที แหล่งนํ<า มีเนื<อที เพิ มขึ<น  5,760  ไร่ เป็นอ่างเก็บนํ<า บ่อนํ<าในไร่นา  และคลอง

                  ชลประทาน
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128