Page 116 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 116

101





                                   (3)  โครงการปลูกยางพาราในพื<นที แห่งใหม่ ระยะที  3 พ.ศ. 2554-2556  ของ

                  สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง   ซึ งมีเป้ าหมายให้ครบ 800,000  ไร่ ภายในปี พ.ศ. 2556

                  โดยมุ่งเน้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยางจะให้
                  การสงเคราะห์ในรูปจ่ายให้เปล่าเป็นวัสดุสงเคราะห์หรือเงินค่าวัสดุสงเคราะห์  ตามหลักปฏิบัติการ

                  ปลูกยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง เป็นเวลา 3 ปี (สํานักงานกองทุนสงเคราะห์

                  การทําสวนยาง, 2554) จึงทําให้เกษตรกรตัดสินใจเปลี ยนมาปลูกยางพาราได้

                                   (4)  โครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ มีพื<นที อยู่ในอําเภอชุมพลบุรี และอําเภอท่าตูม
                  รวมเนื<อที   575,993 ไร่ (สถานีพัฒนาที ดินร้อยเอ็ด, ม.ป.ป.) ซึ งมีการพัฒนาแหล่งนํ<า โดยกรมชลประทาน

                  ได้ก่อสร้างอ่างเก็บนํ<า ฝาย และงานขุดลอก เพื อขยาย และพัฒนาศักยภาพการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105

                  ในพื<นที ทุ่งกุลาร้องไห้  ให้มีประสิทธิภาพในการผลิตที สูงขึ<นและมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที ยอมรับ

                  โดยทั วไปอย่างกว้างขวาง จึงทําให้พื<นที ในเขตนี<มีประเภทการใช้ที ดินเป็น  นาข้าวเป็นส่วนใหญ่
                                   (5)  โครงการรับจํานําผลผลิตทางการเกษตร เป็นอีกนโยบายของรัฐที เป็นแรงจูงใจ

                  ให้เกษตรกรตัดสินใจผลิตพืชชนิดนั<น ๆ แต่ในปีการผลิตที  2554  พบว่าราคาผลผลิตทางการเกษตรที

                  เกษตรขายได้ในท้องตลาดมีราคาใกล้เคียงหรือบางชนิดสูงกว่าราคารับจํานํา ยกเว้นข้าวเปลือกขาวดอก
                  มะลิ 105  ราคาในท้องตลาด เดือนกันยายน พ.ศ. 2554  ราคา 13,275.27 ต่อเกวียน (สํานักงานเศรษฐกิจ

                  การเกษตร, 2554)  ในขณะที ราคาในโครงการรับจํานํา 20,000  บาทต่อเกวียน (สํานักงานการค้าภายใน

                  จังหวัดยโสธร, 2554)
                        3.3.3 ปัจจัยเศรษฐกิจ ประกอบด้วย

                             1)   ราคาและมูลค่า เมื อเทียบกับผลผลิตเดิม โดยเฉพาะในกรณีของพื<นที

                  นาข้าวที เปลี ยนแปลงเป็นพื<นที ปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื นๆ ที ได้ผลตอบแทนที มากกว่า โดยเฉพาะใน
                  กรณีของนาข้าวที เปลี ยนไปเป็นพื<นที ปลูกพืชไร่ชนิดอื น ๆ เช่น อ้อย และมันสําปะหลัง ที มีราคาสูงขึ<น

                  และมีมูลค่ามากกว่าการผลิตข้าว ซึ งมีรายละเอียดดังนี<

                                   (1)  พื<นที นาข้าวในปี พ.ศ.   2549  เปลี ยนไปเป็นพื<นที ปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2554

                  49,620  ไร่ (ตารางที  7)  ซึ งถ้าคิดเป็นผลผลิตข้าวถึง 21,882  ตันที สูญเสียไป โดยผลผลิตข้าวเจ้านาปีเฉลี ย
                  ปีการเพาะปลูก 2553/2554 คือ 441 กิโลกรัมต่อไร่ (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก) หรือคิดเป็น

                  มูลค่า 295,019,857  บาท  เมื อราคาข้าวเปลือกขาวดอกมะลิ 105  เฉลี ยจังหวัดของสุรินทร์ ในเดือน

                  พฤศจิกายน พ.ศ. 2553-2554 ราคาเกวียนละ 13,482 บาท (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554ก)  แต่ใน

                  ขณะเดียวกันผลผลิตเฉลี ยของอ้อยโรงงานในจังหวัดสุรินทร์ ปี การเพาะปลูก 2553/2554 คือ 8,214
                  กิโลกรัมต่อไร่ (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก) ซึ งจะได้ผลผลิตอ้อยโรงงานเท่ากับ 407,579 ตัน

                  หรือคิดเป็นมูลค่า 412,062,369 บาท เมื อราคาอ้อยโรงงานเฉลี ยของจังหวัดสุรินทร์ ตั<งแต่เดือนพฤศจิกายน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121