Page 124 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 124

109





                             5.    พื<นที อื น ๆ มีเนื<อที ลดลง  57,538  ไร่ โดยพบว่าเปลี ยนแปลงไปเป็นพื<นที นาข้าว

                  มากที สุด รองลงมาคือพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส และยางพารา ตามลําดับ เนื องจากประชากรต้องการขยาย

                  พื<นที ทํากิน เพื อเพิ มรายได้ให้เพียงพอ
                             6.   เมื อพิจารณาถึงศักยภาพของดินซึ งจําแนกตามสํานักสํารวจและวางแผนการใช้ที ดิน

                  พบว่ากลุ่มชุดดินที  40  41  และกลุ่มชุดดินที  44 เป็นกลุ่มของดินที มีการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดิน

                  มากที สุด เนื องจากคุณสมบัติของดินที สามารถปลูกพืชได้หลากหลายชนิด


                  4.2  ข้อเสนอแนะ

                        4.2.1  การสํารวจสภาพการใช้ที ดินโดยใช้เทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลจากการใช้ข้อมูลภาพถ่าย

                  ดาวเทียม ทําให้การสํารวจทําได้อย่างรวดเร็ว และสะดวกยิ งขึ<น โดยเฉพาะในพื<นที ที การคมนาคมยังไม่

                  สะดวก  ทําให้สามารถสํารวจได้ครอบคลุมพื<นที มากยิ งขึ<นแต่การใช้ข้อมูลดาวเทียมยังมีข้อจํากัดอยู่บ้าง
                  ในบางครั<งระยะเวลาการถ่ายภาพที ได้จะไม่ตรงกับฤดูกาลเพาะปลูก เนื องมาจากข้อจํากัดของระบบการ

                  ถ่ายภาพที ไม่สามารถถ่ายภาพผ่านชั<นของเมฆได้ จึงต้องใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที ไม่ตรงกับ

                  ฤดูเพาะปลูก ทําให้การตีความโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพียงอย่างเดียวจึงอาจทําให้เกิดความผิดพลาดได้

                  ดังนั<นจึงควรตรวจสอบความถูกต้องโดยการใช้แผนที สภาพที ดินในอดีต ภาพถ่ายทางอากาศสี  การสํารวจ
                  ภาคสนาม และการสอบถามข้อมูลจากบุคคลในพื<นที จึงมีความจําเป็นเพื อให้ได้ข้อมูลที ถูกต้อง และมี

                  ประสิทธิภาพยิ งขึ<น

                        4.2.2  ผลของการศึกษาสภาพการใช้ที ดิน และการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดินจังหวัดสุรินทร์
                  ระหว่าง ปี พ.ศ. 2549  และ พ.ศ. 2554  พบประเด็นที เป็นข้อเสนอแนะ เป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดการ

                  พัฒนาการให้ถูกต้องเหมาะสมกับสมรรถนะของที ดิน และสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เพื อนําไปสู่การ

                  ใช้ที ดินอย่างยั งยืนดังนี<
                             1)   การเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดินจากพืชไร่ผสม ไปเป็นการปลูกพืชเชิงเดี ยว

                  มากขึ<นโดยเฉพาะอ้อย มันสําปะหลัง และยางพารา ถึงแม้ว่าในปีการผลิต 2554 ราคาของผลผลิตอ้อย

                  มันสําปะหลัง และยางพารา จะค่อนข้างสูง อันเนื องมาจากขาดวัตถุดิบป้ อนโรงงานอุตสาหกรรม
                  เพราะภัยแล้ง  และปัญหาศัตรูพืช แต่การเพิ มพื<นที ปลูกของพืชเศรษฐกิจทั<ง 3  ชนิด อาจจะส่งผลต่อ

                  ราคาผลผลิตได้ในภายหลัง ซึ งในปีการผลิต 2554 พบว่าราคารับซื<อผลผลิตลดลงอย่างต่อเนื อง แม้จะมี

                  มูลค่าไม่มากนัก  รัฐบาลจึงควรมีการกําหนดนโยบายในการผลิตพืชเศรษฐกิจให้เป็นรูปธรรม

                  เพื อป้ องกันการเกิดปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกตํ า
                             2)   พื<นที ป่ าในจังหวัดสุรินทร์ลดลงอย่างมากในระยะเวลา 4  ปี เนื องมาจากการ

                  เพิ มขึ<นของประชากร ที ต้องการเพิ มพื<นที ผลิตมันสําปะหลัง อ้อย ยางพารา และยูคาลิปตัส จึงมีการบุก

                  รุกเข้าไปทําประโยชน์ในเขตพื<นที ป่า ซึ งอาจส่งผลต่อสมดุลธรรมชาติในระยะยาวได้ รัฐควรมีกลไก
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129