Page 115 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 115

100





                                              -     แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที  8-9

                  (พ.ศ. 2540-2549) ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม  และมุ่งให้คนเป็น

                  ศูนย์กลางของการพัฒนา และใช้เศรษฐกิจเป็นเครื องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุข และมีคุณภาพชีวิต
                  ที ดีขึ<น  พร้อมทั<งปรับเปลี ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกส่วนมาเป็นบูรณาการแบบองค์รวม ในขณะที

                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที  9  เริ มเน้นแนวทางการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจแบบ

                  พอเพียง พัฒนา และบริหารประเทศโดยยึดหลักทางสายกลาง ให้ประเทศดํารงอยู่อย่างมั นคงมีการ

                  พัฒนาที สมดุล มีคุณภาพและยั งยืน ทําให้การเกษตรแบบผสมผสาน และพื<นที เกษตรอินทรีย์เริ ม
                  แพร่หลายขึ<น

                                              -     แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที  10

                  (พ.ศ.  2550-2554) เน้นกระบวนทัศน์การพัฒนาในทิศทางที พึ งตนเองและมีภูมิคุ้มกันมากขึ<น มุ่งสร้าง

                  ภูมิคุ้มกันให้กับประเทศภายใต้ทุนสําคัญ 3 ทุน ได้แก่ ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ งแวดล้อม  โดยผลการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที
                  10 พบว่าสังคมไทยได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้อย่างกว้างขวางในทุกภาคส่วน

                  (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) ส่งผลให้เกิดโครงการจากภาครัฐ

                  หลายโครงการที จะส่งเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการส่งเสริมพืชพลังงานทดแทน
                  ถึงแม้ว่าจะไม่มุ่งเน้นการขยายพื<นที ปลูกสําหรับมันสําปะหลัง และอ้อยโรงงาน แต่เนื องจากความต้องการ

                  วัตถุดิบที เพิ มขึ<นเพื อป้ อนโรงงานผลิตเอทานอลแอกอฮอล์ ส่งผลให้ราคาผลผลิตที เกษตรกรขายได้สูงขึ<น
                  จึงเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรขยายพื<นที ผลิตมันสําปะหลัง และอ้อยโรงงานได้ เช่นกัน

                                   (2)  ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุรินทร์  (พ.ศ.  2554–2557) ได้กําหนด

                  วิสัยทัศน์ ไว้ว่า “เกษตรอินทรีย์เป็นเลิศ เปิดประตูสู่สากล” โดยมียุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาจังหวัด
                  คือ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ มีพันธกิจเพื อเพิ มผลผลิตเกษตรอินทรีย์ เพิ มศักยภาพ

                  เกษตรกร และสถาบันเกษตรอินทรีย์เพื อเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ที สําคัญของประเทศ และ

                  มีตลาดรองรับภายใต้การบริหารจัดการที ดี โดยมีผลการดําเนินงานที สําคัญ เช่น โครงการตรวจสอบ

                  และรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล เน้นการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของข้าวหอมมะลิ
                  เพื อเป็นเครื องหมายยืนยันและประกันคุณภาพ เพื อสร้างความเชื อมั นให้กับผู้บริโภค ซึ งจะนําไปสู่การ

                  เพิ มมูลค่าข้าวหอมมะลิ อีกทางหนึ ง โครงการส่งเสริมและเพิ มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาด

                  สินค้าเกษตรอินทรีย์  โดยการจัดเจรจาธุรกิจเกษตรอินทรีย์ และจัดทําความร่วมมือในการซื<อขายข้าว
                  หอมมะลิอินทรีย์สุรินทร์ กับผู้ประกอบการค้าข้าวทั<งในและนอกจังหวัด ในราคาที สูงกว่าราคาตลาด

                  ข้าวหอมมะลิทั วไป ตันละ 1,000 – 3,000 บาท ซึ งเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรยังคงทําการผลิตข้าวหอม

                  มะลิต่อไป
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120