Page 117 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 117

102





                  พ.ศ.  2553-2554 ราคาตันละ 1,011 บาท (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554ก) โดยการผลิตอ้อยโรงงานมี

                  มูลค่ามากกว่าข้าวถึง 117,042,512 บาท

                                   (2)  พื<นที นาข้าวในปี พ.ศ.   2549  เปลี ยนไปเป็นพื<นที ปลูกมันสําปะหลังใน
                  ปี พ.ศ. 2554 จํานวน 14,153  ไร่ (ตารางที  7)  ซึ งถ้าคิดเป็นผลผลิตข้าวถึง 6,241  ตันที สูญเสียไป

                  โดยผลผลิตข้าวเจ้านาปีเฉลี ยปีการเพาะปลูก 2553/2554 คือ 441 กิโลกรัมต่อไร่ (สํานักงานเกษตรจังหวัด

                  สุรินทร์, 2554ก)  หรือคิดเป็นมูลค่า 84,143,082 เมื อราคาข้าวเปลือกขาวดอกมะลิ 105  เฉลี ยของจังหวัด

                  สุรินทร์ ตั<งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553-2554  ราคาเกวียนละ  13,482 บาท  (สํานักงานเศรษฐกิจ
                  การเกษตร, 2554ข) แต่ในขณะเดียวกันผลผลิตเฉลี ยของมันสําปะหลังในจังหวัดสุรินทร์ ปีการเพาะปลูก

                  2553/2554 คือ 3,715  กิโลกรัมต่อไร่  (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก) ซึ งจะได้ผลผลิต

                  มันสําปะหลังเท่ากับ 52,578 ตัน  หรือคิดเป็นมูลค่า 133,442,964 บาท เมื อราคามันสําปะหลังของจังหวัด

                  สุรินทร์ ตั<งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553-2554 ราคาตันละ 2,538 บาท (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,
                  2554ข) โดยการผลิตมันสําปะหลังมีมูลมากกว่าการผลิตข้าวถึง 49,299,882 บาท

                             2)    นโยบายของกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจ โดยการขยายขนาดธุรกิจของโรงงาน

                  อุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มนํ<าตาล KI  ได้ขยายการผลิตนํ<าตาลโดยจัดตั<งบริษัท นํ<าตาลสุรินทร์ จํากัด
                  ขึ<นเมื อวันที  24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ในตําบลปรือ อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ดําเนินธุรกิจผลิต และ

                  จําหน่ายนํ<าตาลทราย  ด้วยกําลังการผลิตกว่า 18,000  ตันอ้อยต่อวัน  มีการเพิ มความหลากหลายของ

                  ผลิตภัณฑ์ โดยการจัดตั<ง บริษัท  ไฟฟ้ าสุรินทร์ จํากัด ขึ<นเมื อวันที  4  กรกฎาคม พ.ศ. 2548  ด้วยทุน
                  จดทะเบียน 995 ล้านบาท โดยตั<งอยู่ในบริเวณพื<นที เดียวกับ บริษัท นํ<าตาลสุรินทร์ จํากัด เพื อดําเนิน

                  ธุรกิจผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า จากพลังงานชีวมวล โดยใช้ กากอ้อย  มีกําลังการผลิตไฟฟ้ า รวม 30

                  เมกกะวัตต์ต่อชั วโมง (บริษัท อุตสาหกรรมโคราช จํากัด, ม.ป.ป.) จึงมีความต้องการวัตดุดิบเพิ มขึ<น
                             3)   สภาวะตลาดภายในและนอกประเทศ ราคาขั<นต้นของอ้อยโรงงานในจังหวัดสุรินทร์

                  เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 ที สูงถึงตันละ 1,112 บาท มากกว่าราคาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ซึ งเป็นต้น

                  ฤดูกาลหีบอ้อย ถึง 167  บาทต่อตัน (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554ข)  จึงเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกร

                  เพาะปลูกอ้อยเพิ มขึ<นในปีการผลิตที  2554  โดยเมื อเปรียบเทียบการส่งออกนํ<าตาลในปี พ.ศ. 2549  และ
                  พ.ศ. 2553 พบว่ามีการส่งออกเพิ มขึ<น จาก 1,008,751,415 ตัน เป็น 35,735,565,526 ตัน (สํานักงานเศรษฐกิจ

                  การเกษตร, 2554ค)  ซึ งแสดงว่าโรงงานยังคงต้องการผลผลิตอ้อยเพื อป้ อนโรงงาน สําหรับมันสําปะหลัง

                  นั<น เมื อเปรียบเทียบการส่งออกผลิตภัณฑ์ ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2553 และ ปี พ.ศ. 2554 พบว่า มันเส้น
                  มันสําปะหลังอัดเม็ด แป้ งมันสําปะหลังดิบ และแป้ งมันสําปะหลังแปรรูป  มีการส่งออกใน ปี พ.ศ. 2554

                  เพิ มขึ<น 167,166  ตัน 275  ตัน 94,773  ตัน และ 11,761 ตัน ตามลําดับ (กรมการค้าภายใน, 2554) เมื อ

                  เปรียบเทียบราคาหัวมันสําปะหลังสดเฉลี ยระหว่าง พ.ศ. 2549  และ พ.ศ. 2553  เพิ มขึ<นจาก 1.21  บาทต่อ

                  กิโลกรัมเป็น 2.25  บาทต่อกิโลกรัม (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554ก)   จึงส่งผลให้มีพื<นที การผลิต
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122