Page 112 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 112

97





                  เกษตรกรเช่นกัน ในจังหวัดสุรินทร์นอกจากจะมีแหล่งรับซื<อผลผลิต โรงสีข้าวขนาดย่อยกระจายอยู่

                  ทั วจังหวัด ยังมีโรงงานแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรขนาดใหญ่อยู่หลายโรงงาน โดยแบ่งตามลักษณะ

                  การผลิตได้ดังนี<
                                   (1)   โรงงานผลิตนํ<าตาล 1 โรงงาน

                                         -    บริษัทนํ<าตาลสุรินทร์ จํากัด ในอําเภอปราสาท ซึ งมี กําลังการผลิตนํ<าตาล

                  กว่า 18,000  ตันอ้อยต่อวัน   และยังสามารถผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า จากพลังงานชีวมวล โดยใช้

                  กากอ้อย  มีกําลังการผลิตไฟฟ้า รวม 30 เมกกะวัตต์ต่อชั วโมง (บริษัท อุตสาหกรรมโคราช จํากัด, ม.ป.ป.)
                                   (2)   โรงงานผลิตยางแผ่นรมควัน 1 โรงงาน และในจังหวัดใกล้เคียง 2 โรงงาน

                                         -  บริษัทยงล้ง รับเบอร์ จํากัด ในอําเภอเมืองสุรินทร์

                                         -  บริษัทนอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด ในอําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์

                                         -   บริษัท รับเบอร์แลนด์ โปรดักชั น จํากัด ในอําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
                                   (3)  โรงงานผลิตชิ<นไม้สับอยู่  3 โรงงาน (กลุ่มบริษัท ชัยโย เอเอ, 2550)

                                         -  โรงงานชัยโยปราสาท ในอําเภอปราสาท

                                         -  โรงงานชัยโยปราสาท 2 ในอําเภอปราสาท
                                         -  โรงงานชัยโยกิจทวี ในอําเภอเมืองสุรินทร์

                                   (4)   โรงงานทอกระสอบ 1  โรงงาน ได้แก่ โรงทอกระสอบสุรินทร์ ในอําเภอ

                  เขวาสินรินทร์
                                         ซึ งพบว่าโรงงานจะตั<งอยู่ในบริเวณที มีการผลิตพืชวัตถุดิบนั นเอง

                  (รายละเอียดดังภาพที  57) นอกจากนี<จะเห็นได้ว่าในจังหวัดสุรินทร์มีแหล่งรองรับผลผลิต อ้อย

                  มันสําปะหลัง ยูคาลิปตัส ยางพาราอยู่หลายแหล่ง ดังนั<นพื<นที ปลูกพืชทั<ง 4  ชนิดจึงเพิ มมากขึ<นใน
                  ปี พ.ศ. 2554

                        3.3.2  ปัจจัยทางสังคม ประกอบด้วย

                             1)    การเพิ มขึ<นของประชากร จากข้อมูลจํานวนประชากรในจังหวัดสุรินทร์พบว่า

                  เพิ มขึ<นอย่างต่อเนื อง ในปี พ.ศ. 2549  มีประชากร 1,375,257  คน และเพิ มขึ<นเป็น 1,381,761  คน
                  ในปี พ.ศ. 2553  (กรมการปกครอง, 2554) เป็นสาเหตุให้เกิดการขยายตัวของชุมชน โดยมีการเปลี ยนแปลง

                  มาจากพื<นที เกษตรกรรมมากที สุด รองลงมาได้แก่พื<นที เบ็ดเตล็ด แต่ในขณะเดียวกันก็มีการขยายตัวของ

                  พื<นที เกษตรกรรมเพื อเพิ มพื<นที ทํากินให้มีรายได้เพื อให้มีรายได้เพียงพอสําหรับครัวเรือน ซึ งในภาพรวม

                  พื<นที เกษตรเพิ มขึ<นถึง 60,354  ไร่ แต่เมื อพิจารณาในรายละเอียดพบว่ามีการเปลี ยนแปลงประเภท
                  การใช้ที ดินมาจากพื<นที เบ็ดเตล็ดมากที สุด

                             2)    ความสําเร็จจากเกษตรกรผู้ริเริ ม โดยเฉพาะยางพารา ในระยะเวลา 5 ปี พื<นที ปลูก

                  ยางพาราเพิ มขึ<นถึง 129,187  ไร่ เนื องจากเกษตรกรเห็นความสําเร็จของเกษตรกรผู้ริเริ ม ประกอบกับ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117