Page 111 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 111

96







                  3.3    ปัจจัยที มีผลต่อการเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดิน

                        ปัจจัยที มีผลต่อสภาพการใช้ที ดิน และการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดินมีอยู่หลายประการด้วยกัน

                  สําหรับศึกษาการเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดินในจังหวัดสุรินทร์ พบว่าสามารถจําแนกกลุ่มปัจจัยที
                  ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดินได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ  ปัจจัยทางสังคม

                  และปัจจัยทางเศรษฐกิจ  โดยมีรายละเอียดดังนี<

                        3.3.1  ปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่

                             1)    ลักษณะดิน ถือเป็นปัจจัยสําคัญปัจจัยหนึ งที ทําให้เกษตรกรตัดสินใจปลูกพืช หรือ
                  เปลี ยนประเภทการใช้ที ดินไปเป็นประเภทการใช้ที ดินอื น ๆ ได้ ซึ งจากข้อมูลแผนที กลุ่มชุดดินเชิงเลข

                  มาตราส่วน 1:25,000 จังหวัดสุรินทร์ (2549) พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มชุดดินออกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

                                   (1)   ดินบนพื<นที ราบตํ า ได้แก่ กลุ่มชุดดินที  1, 4, 6, 7, 15, 16, 17 18, 19, 20, 22

                  และกลุ่มชุดดินที  24 จะมีลักษณะเป็นดินในที ราบลุ่ม มักมีนํ<าขังในช่วงฤดูฝน และการระบายนํ<าไม่ดี
                  ซึ งเป็ นข้อจํากัดของดินกลุ่มนี<จึงมีการใช้ประโยชน์ที ดินส่วนใหญ่เป็ นนาข้าว และไม่มีการ

                  เปลี ยนแปลงการใช้ที ดินมากนัก

                                   (2)   ดินบนพื<นที ดอน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที  28, 33, 35, 36, 37, 38, 40, 41, 44, 46,
                  48, 49, 56 และกลุ่มชุดดินที  62 พบว่าประเภทการใช้ที ดินในดินกลุ่มนี<มีหลากหลายและมีการเปลี ยนแปลง

                  ประเภทการใช้ที ดินในปี พ.ศ. 2554  ค่อนข้างมากซึ งเฉพาะในกลุ่มชุดดินที  40  และ 41  เนื องจากไม่มี

                  ข้อจํากัดที มีนํ<าท่วมขัง และยังสามารถทําคันนา  รวมทั<งใช้ระบบชลประทานช่วยให้สามารถปลูกพืชได้
                  หลากหลายชนิด โดยเฉพาะพบว่ามีพื<นที นาข้าวในกลุ่มดินที  40 และ 41 ที เปลี ยนประเภทการใช้ที ดินไป

                  ปลูกพืชชนิดอื น ๆ เช่น อ้อย มันสําปะหลัง ยูคาลิปตัส และยางพารา มากที สุด

                             2)    พื<นที ในเขตชลประทาน แหล่งนํ<าเป็นปัจจัยหลักในการทําการเกษตรอย่างหนึ ง
                  เช่นกัน นอกเหนือจากแหล่งนํ<าตามธรรมชาติ การชลประทานก็เป็ นส่วนสําคัญที ช่วยเสริมให้

                  การทําเกษตรประสบผลสําเร็จมากยิ งขึ<น โครงการชลประทานในจังหวัดสุรินทร์มีเนื<อที รวม 175,588  ไร่

                  หรือคิดเป็นร้อยละ 3.46 ของเนื<อที จังหวัด โดยเมื อพิจารณาพบว่าในเขตชลประทานมีประเภทการใช้ที ดิน

                  เป็นนาข้าวมากที สุดทั<ง 2  ปี แต่พบว่าในปี พ.ศ. 2554  พื<นที นาข้าวในเขตชลประทานลดลงถึง 4,932  ไร่
                  โดยเปลี ยนไปทําการเกษตรชนิดอื น ๆ มากขึ<น คือใช้เป็นโรงเรือนเลี<ยงสัตว์ปีก สถานที เพาะเลี<ยงปลา

                  รองลงมา  เปลี ยนไปเป็นพื<นที ปลูกพืชเชิงเดี ยว ได้แก่ พืชไร่ชนิดอื น ๆ มันสําปะหลัง ยางพารา และอ้อย

                  เนื องจากมีแหล่งนํ<าที สมบูรณ์ตลอดปี และพืชเศรษฐกิจที ปลูกสามารถทํารายได้ให้เกษตรกรได้ดีกว่า
                  พืชชนิดเดิม

                             3)    ที ตั<งโรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งรับซื<อผลผลิต  โรงงานอุตสาหกรรม และ

                  แหล่งรับซื<อผลผลิตก็จัดได้ว่าเป็นปัจจัยหนึ งที มีผลต่อประเภทการใช้ที ดินเพื อการปลูกพืชของ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116