Page 13 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 13

1.2.2) การวิเคราะห (analysis) ผูแปลจะตองวิเคราะหสิ่งที่ปรากฏบนภาพถาย โดยอาศัยความสูงต่ํา

            ของพื้นที่  ลักษณะภูมิสัณฐาน (Land form) ที่ตางกัน  จะมีการเกิดดินที่แตกตางกันไป
                          1.2.3)  การจําแนก (classification)  แบงลักษณะที่ปรากฎบนภาพถายออกเปนหมวดหมูตามพื้น

            ฐานความรูเกี่ยวกับลักษณะที่ตองการจะศึกษา

                          1.2.4)  การอนุมาน (deduction)  เปนการสรุปโดยใชเหตุผลที่มีน้ําหนักมากที่สุด  เพื่อกําหนดหนวย
            แผนที่ และเขียนขอบเขตหนวยแผนที่ลงบนภาพถายทางอากาศ

                          การแปลจะถูกตองไดเพียงใด  ผูแปลสามารถจะประเมินไดโดยการตรวจสอบภาคสนาม  และแกไข

            หนวยตางๆ ที่กําหนดไวเพิ่มเติม เพื่อใหไดแผนที่ที่ถูกตองที่สุด (เอิบ เขียวรื่นรมย 2544 คูมือปฏิบัติการสํารวจดิน)

                   2)  การแปลภาพถายทางอากาศ โดยใชเครื่องคอมพิวเตอร
                          ภาพถาย Orthophoto  ไมสามารถมองสามมิติได  ดังนั้นจึงจําเปนตองใชเครื่องคอมพิวเตอรในการ

            แปล

                          2.1) ใชภาพ Orthophoto ที่มี Dem (digital elevation model) สรางภาพ 3 มิติ

                          2.2) ใชภาพที่มี contour 2 เมตร ซอนทับ
                          2.3)  ตรึงภาพใหตรงกัน แลวใชหลักการแปลเชนเดียวกับ ขอ 1)



                          2.3.1.2  การวิเคราะหขอมูลพื้นที่
                          1)  ถายทอดหรือซอนทับแผนที่ธรณีวิทยาลงในภาพถาย  เพื่อประเมินถึงที่มาของตนกําเนิดดินใน

            เบื้องตน

                          2)  ศึกษาพื้นที่ศึกษาทั้งระบบจากแผนที่ภูมิประเทศ 1:50,000 ประกอบกับภาพถายทางอากาศ เพื่อ
            ประเมินทิศทางการไหลของน้ําและการพัดพาตะกอน ประกอบกับประเมินสภาพพื้นที่โดยสังเขป

                          3) เสนชั้นความสูงสามารถประเมินระบบการระบายน้ําของดินอยางคราวๆ



                          2.3.1.3  การกําหนดจุดตรวจสอบ
                          นําขอบเขตที่ไดจากการแปลภาพถายในขอ 2.3.1.1  และผลการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ในขอ 2.3.1.2

            ลากขอบเขตโดยประมาณไวสําหรับเปนแนวทางในการเจาะสํารวจและตั้งสมมุติฐานถึงชนิดของดินที่จะพบในพื้นที่

            นั้นแยกเปนหมวดหมูไวจากการแปลภาพถายและวิเคราะหขอมูล  จากนั้นกําหนดจุดตรวจสอบที่เปนตัวแทน  ความ

            มากนอยของจุดตรวจสอบขึ้นอยูกับระดับของการสํารวจดินและความซับซอนของพื้นที่












                                                            7
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18