Page 11 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 11

2.2 ขั้นตอนการสํารวจจําแนกและทําแผนที่ดิน
                    มีขั้นตอนการดําเนินงานอยู 3 ขั้นตอน คือ

                    2.2.1  ศึกษาขอมูลเบื้องตน (initial  review)  เปนการดําเนินงานกอนที่จะทําการสํารวจดินในพื้นที่

            โครงการโดยทําการเจาะสํารวจและศึกษาลักษณะของดิน และกําหนดหนวยแผนที่ดิน (map  unit)  ในสภาพ

            ภูมิสัณฐานตางๆ ของพื้นที่จะทําการสํารวจดิน ถาดินใดมีลักษณะเหมือนหรืออยูในชวงลักษณะที่ไดเคยกําหนดไวใน
            ชุดดิน (soil series) ที่มีการตั้งชื่อแลว (established series) ก็ใหชื่อตามชุดนั้น แตถาดินมีลักษณะไมอยูในชวงที่กําหนด

            ไว สําหรับดินชุดใดๆ ก็ใหพิจารณาตั้งชื่อมาใหม (tentative series) หรือใหเปน variant หรือ phase ของดินชุดหนึ่งที่มี

            ลักษณะใกลเคียงกัน เสร็จแลวใหทําการศึกษาสภาพแวดลอมที่เกิดดิน เชน วัตถุตนกําเนิดดิน สภาพภูมิประเทศ
            ภูมิอากาศ พืชพรรณที่ขึ้นปกคลุม และอายุการเกิดของดินพรอมทั้งลักษณะทางดานสัณฐานของดิน (morphology) โดย

            ทําการบรรยายลักษณะหนาตัดของดินอยางนอย 3 หลุม และทําการเก็บตัวอยางดินมาทําการวิเคราะหหาคุณสมบัติทาง

            เคมี กายภาพ และแรของดิน จากสภาพการเกิดของดินและลักษณะตางๆ ที่ไดจากการศึกษาในสนามในขั้นแรกใหจัดทํา

            ตารางกําหนดลักษณะหนวยการเกิดของดินและลักษณะตางๆ ที่ไดจากการศึกษาในสนามเพื่อนักสํารวจดินจะไดไป
            เปนบรรทัดฐานในการจําแนกและทําแผนที่ดินตอไป

                    สภาพการเกิดและคุณลักษณะของดินที่สําคัญที่ควรนํามาพิจารณากําหนดหนวยแผนที่ดินนั้นจะประกอบดวย

            สภาพการเกิดไดแก สภาพพื้นที่รวมทั้งชั้นของความลาดเท (slope class) วัตถุตนกําเนิดดิน สภาพการระบายน้ําของดิน
            พืชพรรณหรือการใชประโยชน สวนคุณลักษณะของดินนั้น ไดแก เนื้อดิน สีของดิน (matrix) จุดประ (mottle) ปฏิกิริยา

            ของดิน (soil  reaction)  และลักษณะอื่นๆ ที่จะใชเปนลักษณะในการจําแนกดินออกจากชุดดินหรือดินที่มีลักษณะ

            ใกลเคียงกัน ซึ่งลักษณะตางๆ ที่กลาวมานี้จะตองกําหนดทั้งดินบนและดินลาง ขอมูลการกําหนดชวงลักษณะของหนวย
            แผนที่ดินที่กลาวมานี้นอกจากใชเปนบรรทัดฐานในการทําแผนที่ดินแลว ยังใชเปนบรรทัดฐานในการเปรียบเทียบ

            หนวยของแผนที่ดิน (soil correlation) ในชวงที่การสํารวจดินกําลังดําเนินการในพื้นที่ของโครงการดวย

                    2.2.2  การขยายผลในการตรวจสอบ (progressive  review)  เปนการตรวจสอบขยายผลจากการศึกษา
            ขอมูลเบื้องตนเพื่อใหการดําเนินการสํารวจดินเปนไปตามเปาหมายครอบคลุมพื้นที่ที่ทําการสํารวจทังหมด โดยใช

            ขอมูลที่กําหนดลักษณะหนวยของแผนที่ดินในขั้นแรกเปรียบเทียบ (correlate)  กับดินที่ทําการเจาะสํารวจใหม ใน

            ขั้นตอนนี้อาจพบดินที่ยังไมเคยใหชื่อมากอนหลายชุดดินก็ได ถาพบดินที่มีลักษณะไมเหมือนกับชุดดินที่เคยใหชื่อมา

            กอนก็จะตองมีการตั้งชื่อชุดดินใหมเปนการชั่วคราว (tentative series) และทําการศึกษาลักษณะสําคัญที่จะใชเปนหลัก
            ในการจําแนก (differentiating characteristics) และกําหนดชวงลักษณะตางๆ (range of chracteristics) ในระดับชุดดิน

            พรอมกับทําคําบรรยายลักษณะหนาตัดและเก็บตัวอยางดินไปทําการวิเคราะห

                    สําหรับดินที่เจาะพบวามีลักษณะอยูในชวงลักษณะของชุดดินที่เคยใหชื่อมาแลว ก็จะใหชื่อตามชุดดินนั้นๆ

            เจาหนาที่ที่มีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมมาตรฐานจะตองปฏิบัติงานอยางใกลชิดกับเจาหนาที่สํารวจดินทั้งในดาน
            การเจาะสํารวจในสนาม และการศึกษาขอมูลจากการเจาะตรวจลักษณะของดินแตละจุดหรือแตละหลุมเพื่อจะไดทําการ

            เปรียบเทียบใหอยูในมาตรฐานที่กําหนดไว




                                                            5
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16