Page 57 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 57

47  ชุดดินทาลี่ (Tha Li series: Tl)



                                 กลุมชุดดินที่     47

                                 การจําแนกดิน       Clayey-skeletal, mixed, semiactive, isohyperthermic Ultic
                                                            Haplustalfs

                                 การกําเนิด         เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแอนดีไซทและหินอัคนีในกลุมเดียวกัน
                                                    บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปน

                                                    ระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                 สภาพพื้นที่        ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 3-20 %
                                 การระบายน้ํา                     ดี

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน         ปานกลางถึงเร็ว

                                 การซึมผานไดของน้ํา             ปานกลาง
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน      ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว
                                 การแพรกระจาย        พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                 การจัดเรียงชั้นดิน   Ap(A)-Bt-Cr

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแนนตั้งแตภายใน 50 ซม.จาก
                                 ผิวดิน และพบชั้นหินพื้นที่กําลังสลายตัวที่ความลึกประมาณ 80 ซม. ลงไป ดินบนเปนดินรวนหรือ

               ดินรวนปนดินเหนียว  สีน้ําตาลเขมมากหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)

               ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียวมีเศษหินปะปนมากสีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรด
               จัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินเชียงคาน
               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแนน พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลาย

               ไดงาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก  และดินไมตื้นมาก  อาจใชปลูกพืชไรได  แตตอง
               รบกวนดินนอยที่สุด  พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช  เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่ม

               ผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา








                                                                                                              49
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62