Page 43 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 43

33  ชุดดินนครสวรรค (Nakhon Sawan series: Ns)





                                    กลุมชุดดินที่  47
                                    การจําแนกดิน  loamy-skeletal, mixed, superactive, isohyperthermic Ultic Haplustalfs

                                    การกําเนิด     เกิดจากการผุพังของหินแปรพวกไมกาชีสตและไมกาไนส บริเวณพื้นที่ภูเขา
                                                   และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดย

                                                   แรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                    สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 6-35 %
                                    การระบายน้ํา                ดี

                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลางถึงเร็ว
                                    การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเบญจพรรณ ไมพุม ไผ และพืชไร เชน

                                                   ขาวโพด ถั่ว
                                    การแพรกระจาย         พบมากบริเวณภาคเหนือตอนลาง

                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bt-R
                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินและกอนหินหนาแนนมาก พบชั้น

                                    หินพื้นในชวงความลึกต่ํากวา 50-125 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียว
               ปนทราย มีเศษหินปะปนเล็กนอย สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-

               6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนดินเหนียวและมีเศษหินและกอนหินปะปนอยูมาก สีน้ําตาลปนแดงหรือสี

               น้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) จะพบเกล็ดไมกาตลอดชั้นดิน

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 50-100         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินลี้  และชุดดินทาลี่
               ขอจํากัดการใชประโยชน      เปนดินตื้นถึงชั้นกอนหินหนาแนน  พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง  ดินจะถูกชะลางพังทลาย

               ไดงาย
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%)  และดินไมตื้นมาก  อาจใชปลูกพืชไร

               ได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดิน

               และเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี  พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก  ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟู
               สภาพปา




                                                                                                              35
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48