Page 40 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 40

30  ชุดดินน้ําชุน (Nam Chun  series: Ncu)





               กลุมชุดดินที่        48
               การจําแนกดิน          Clayey-skeletal, mixed, active, isohyperthermic Aquic Haplustalfs

               การกําเนิด            เกิดจากตะกอนน้ําพา สวนใหญเปนพวกกรวดและหินมนเล็ก บริเวณเนินตะกอนรูปพัด
               สภาพพื้นที่           คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-5 %

               การระบายน้ํา                ดีปานกลาง
               การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชาถึงปานกลาง

               การซึมผานไดของน้ํา        ชา

               พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใชเปนวัสดุทําถนน
               การแพรกระจาย        พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

               การจัดเรียงชั้นดิน   Ap(A)-Bt-BC

               ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกอนกรวดและหินมนเล็กหนาแนน ภายในความลึก 50 ซม.  จากผิวดิน
               ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน อาจมีกรวดและหินมนปะปน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา

               เขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH  5.0-6.0)  ดินลางตอนบนสีแดงปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนแดง เปนดิน
               รวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว มีกรวดและหินมนเล็กปะปนอยูหนาแนนมาก มากกวา 35  %  โดยปริมาตร ดินลางตอนลาง

               เปนดินเหนียวมีกรวดและหินมนเล็กปะปนหนาแนนเชนกัน สีน้ําตาลแกถึงสีน้ําตาลปนเทา และมีจุดประสีแดง สีแดงปนเหลือง
               และสีเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.0-8.0)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินแมริม

               ขอจํากัดการใชประโยชน         เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดและหินมนเล็ก  ความอุดมสมบูรณต่ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      หากดินไมตื้นมาก  อาจใชปลูกพืชไรได  แตตองรบกวนดินนอยที่สุด  พรอมทั้งและ
               จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช  เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืช โดยใชปุยอินทรีย

               รวมกับปุยเคมี บริเวณที่ดินตื้นมากไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา  หรือปลอยเปนทุงหญา
               ตามธรรมชาติ












                                                                                                              32
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45