Page 41 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 41
31 ชุดดินน้ําดุก (Nam Duk series: Nd)
กลุมชุดดินที่ 33
การจําแนกดิน Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Oxyaquic Paleustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัดหรือตะพักลําน้ํา
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วตางๆ บางแหงปลูกไมผล เชน
มะมวง มะขาม
การแพรกระจาย พบมากบริเวณเนินพื้นที่ที่สูงตอนกลางของประเทศ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(BC)
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือ
สีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง
สีน้ําตาลปนแดงถึงสีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางตอนลางเปน
ดินรวนปนดินเหนียวถึงเปนดินเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลแก มีจุดประสีน้ําตาลและสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกลาง
ถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน และชุดดินเพชรบูรณ
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวน
มักแนนทึบ รากชอนไชไดยาก
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ และใชอินทรียวัตถุในการปรับ
สภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น
33