Page 39 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 39

29   ชุดดินน้ําเลน (Nam Len  series: Nal)





               กลุมชุดดินที่       28
               การจําแนกดิน         Very-fine, smectitic, isohyperthermic Aquertic Paleustalfs

               การกําเนิด           เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด
               สภาพพื้นที่          ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %

               การระบายน้ํา                        ดีปานกลาง
               การไหลบาของน้ําบนผิวดิน            ชาถึงปานกลาง

               การซึมผานไดของน้ํา                ปานกลาง

               พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง และถั่วตางๆ
               การแพรกระจาย        พบมากในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศ

               การจัดเรียงชั้นดิน   Ap(A)-Bt-(Bss)

               ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว  สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม  หรือสี
               น้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว ตอนบนสีน้ําตาลปนแดงถึง

               สีแดง ตอนลางสีน้ําตาลถึงสีเทาออน มีจุดประสีแดงหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง
               (pH 6.5-8.0)  เมื่อดินแหง จะแตกระแหงเปนรองลึก ดินชั้นลางจะพบรอยถูไถเปนมันเล็กนอย เนื่องจากการยืดและหดตัวของ

               ดิน เมื่อดินเปยกและแหงสลับกัน

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25       ปานกลาง          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินวังชมพู
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินเหนียวจัดและแนนทึบ ไถพรวนลําบากเมื่อแหงและเปยกเกินไป เมื่อดินแหง ดิน

               จะแตกระแหงเปนรองลึกทําใหรากพืชเสียหาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ไถพรวนเมื่อมีความชื้นเหมาะสม ปรับปรุงดินใหรวนซุยขึ้นโดยใชอินทรียวัตถุ และ
               เพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี

















                                                                                                              31
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44