Page 24 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 24

14   ชุดดินดานซาย (Dan Sai  series: Ds)




                                    กลุมชุดดินที่   35
                                    การจําแนกดิน  Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiustults

                                    การกําเนิด     เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทรายและควอรตไซท  บริเวณพื้นที่ภูเขาและ
                                                   รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ  โดยแรง

                                                   โนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                    สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 5-35 %
                                    การระบายน้ํา                 ดี

                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชาถึงเร็วมาก

                                    การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง พืชไร เชน

                                                   ขาวโพด ขาวไร มันสําปะหลัง ออย  ไมผล เชน มะมวง มะขาม
                                    การแพรกระจาย         บริเวณภูเขาและเชิงเขาที่มีหินทราย

                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bt-(Cr)
                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลเขม

                                    หรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินลางเปนดิน

               รวนเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง           ต่ํา
                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินวาริน  ชุดดินยโสธร  และชุดดินโพนงาม
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ดินถูกชะลางพังทลายไดงาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุง

               บํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น

















                                                                                                              16
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29