Page 21 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 21

11  ชุดดินดงลาน (Dong Lan series: Dl)





                                   กลุมชุดดินที่   28
                                    การจําแนกดิน  Fine, mixed, active, isohyperthermic Vertic (Aquic) Haplustolls

                                    การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพาที่ทับถมอยูบนชั้นดินเหนียวที่ผุพังสลายตัวจากหิน
                                                   ทรายแปงหรือหินดินดานบริเวณเนินตะกอนรูปพัด

                                    สภาพพื้นที่    คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-5 %

                                    การระบายน้ํา                ดีปานกลางในดินบนและคอนขางเลวในดินลาง
                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชาถึงปานกลาง

                                    การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลางในดินบนและชาในดินลาง
                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเบญจพรรณ  พืชไร เชน ขาวโพด

                                            และออย

                                    การแพรกระจาย         เนินตะกอนรูปพัดใกลภูเขาหินปูน พบทางดานตะวันตกของภาค
                                                          ตะวันออกเฉียงเหนือตอกับพื้นที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bw-Cg
                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีดํา

                                    หรือสีเทาเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียวปน
               ทรายแปงหรือดินเหนียว สีเทาหรือสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีแดง สีเหลือง และสีน้ําตาล มีรอยถูไถเนื่องจากการยืดและ

               หดตัวของแรดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง          สูง          ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินลพบุรี  และชุดดินวัฒนา

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินลางแนนทึบและระบายน้ําไมดี เมื่อแหงจะแตกระแหงเปนอันตรายตอรากพืช
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ยกระดับแปลงปลูกพืชใหสูงขึ้นเพื่อบรรเทาการแชขังน้ําของรากพืช   หาแหลงน้ํา

               สํารอง  เพื่อไมใหดินแหงและเกิดการแตกระแหง  ปรับปรุงปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น  โดยการเพิ่ม
               อินทรียวัตถุ












                                                                                                              13
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26