Page 54 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 54

44  ชุดดินยโสธร (Yasothon series: Yt)



                                กลุมชุดดินที่  35
                                การจําแนกดิน  Fine-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic Typic Paleustults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                     แผนดิน
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-8 %

                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                การซึมผานไดของน้ํา         เร็ว

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ปลูกพืชไรและปลูกไมผล
                                การแพรกระจาย         พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                การจัดเรียงชั้น       Ap-Bt
                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  ดินบนเปนดินรวนปนทราย  สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดง

                                เขม  ดินลางเปนดินรวนหรือดินรวนเหนียวปนทราย  สีแดงปนเหลืองหรือสีแดง  ลึกลงไปเปนดินรวน

                                เหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนทราย สีแดงหรือสีแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH
                                5.5-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินวาริน  และชุดดินชุมพวง

               ขอจํากัดในการใชประโยชน      เนื้อดินคอนขางเปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรปรับปรุงบํารุงดินโดยการใสปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมี เพื่อเพิ่มธาตุอาหารใน

               ดินและทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น ควรจัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอตอความตองการของพืช


















                                                                                                              46
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59