Page 52 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 52

42   ชุดดินวาริน (Warin series: Wn)



                                กลุมชุดดินที่  35
                                การจําแนกดิน  Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic Kandiustults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                     แผนดิน
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-8 %

                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว
                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปลูกพืชไร
                                การแพรกระจาย         ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                การจัดเรียงชั้น       Ap-Bt
                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลเขม

                                หรือน้ําตาลปนเทา ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายสีแดงปนเหลืองหรือสีเหลืองปนแดง ปฏิกิริยาดิน

                                เปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5)  ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย
                                (pH 4.5-6.5) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา
                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินยโสธร

               ขอจํากัดการใชประโยชน         เนื้อดินคอนขางเปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      เพิ่มความอุดมสมบูรณและปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้นโดยใชปุยคอก

               ปุยหมัก และปุยเคมี ควรจัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอแกความตองการของพืช



















                                                                                                              44
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57