Page 5 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 5

คํานํา




                            เอกสารวิชาการนี้ไดปรับปรุงขอมูลชุดดินตางๆ  จากเอกสารวิชาการภาษาอังกฤษและแปล

                   เปนภาษาไทย พรอมทั้งมีภาพหนาตัดของชุดดินตางๆ ประกอบ  โดยมีวัตถุประสงคที่จะเผยแพรขอมูล

                   ชุดดินแกนักเรียน นักศึกษา นักวิชาการในสาขาอื่นๆ และผูสนใจใหมีความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลดินได

                   งายขึ้น  และสามารถนําเอาขอมูลดินไปใชประโยชนอยางกวางขวาง ไมเพียงแตเฉพาะนักวิชาการทาง
                   ปฐพีวิทยาเทานั้น


                          อยางไรก็ตามเอกสารนี้จะไมแสดงรายละเอียดของขอมูลมากนัก เพื่อไมใหผูอานสับสนจนเกินไป

                   หากมีความสนใจตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม  ควรศึกษาจากเอกสารวิชาการของสวนมาตรฐาน
                   การสํารวจจําแนกดินและที่ดินที่เปนภาษาอังกฤษ หรือปรึกษานักสํารวจดินของสวนมาตรฐานการสํารวจ

                   จําแนกดินและที่ดิน


                          หากพบขอผิดพลาด หรือมีขอเสนอแนะประการใด ขอความกรุณาแจงใหทราบดวย เพื่อจะได
                   แกไขเอกสารใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น


                          ขอขอบคุณนักสํารวจดินของสวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน สวนสํารวจจําแนก

                   ดิน สวนพัฒนาเทคโนโลยีและบริการ และคณะทํางานวิชาการและการจัดทําแผนยุทธศาสตรของสํานัก

                   สํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  ที่รวมกันดําเนินงาน ระดมความคิดเห็น ติชมและเสนอแนะในการ
                   จัดทําและปรับปรุงเอกสารนี้ใหสําเร็จตามกําหนดเวลา








                                                                          (นายชุมพล ลิลิตธรรม)

                                                            ผูอํานวยการสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10