Page 45 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 45
33 ชุดดินคลองขุด (Khlong Khut series: Kut)
กลุมชุดดินที่ 6
การจําแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Kandic Plinthaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนที่ราบชายฝงทะเล
สภาพพื้นที่ ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ทํานา
การแพรกระจาย พบแพรกระจายในบริเวณพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาค
ตะวันออก
การจัดเรียงชั้น Ap-Btg-Btgv-BCgv
ลักษณะและสมบัติดิน ดินเหนียวละเอียดลึกมาก ดินบนมีสีดําหนามากกวา 25 ซม. เนื้อดิน
เปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)
สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียว มีสีเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้ําตาลและสีแดงตลอดชั้นดิน มี
ศิลาแลงออน (plinthite) ในปริมาณที่มากกวา 50 %โดยปริมาตร หรือพบตอเนื่องกันภายใน
ความลึก 150 ซม.จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 5.0-5.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 สูง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินสตูล และชุดดินแกลง
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมดีสําหรับใชทํานา มีขอจํากัดเล็กนอยที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา
ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนาแหลงน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
35