Page 46 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 46
34 ชุดดินลําแกน (Lam Kaen series: Lam)
กลุมชุดดินที่ 32
การจําแนกดิน Fine-silty, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Haplohumults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําใหมหรือสันดินริมน้ํา
สภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา เร็ว
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร ไมผล ยางพารา และปาลมน้ํามัน
การแพรกระจาย พบแพรกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
การจัดเรียงชั้น A-Bt-BC-C
ลักษณะและสมบัติดิน ดินทรายแปงละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนปน
ทรายแปง มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH
4.5-6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว มีสีน้ําตาลปนเหลือง ชั้นดินถัดไป
ภายในความลึก 150 ซม. จากผิวดิน มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึง
เปนกรดจัด (pH 5.0-5.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง
25-50 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินรือเสาะ และชุดดินตาขุน
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมดีสําหรับการปลูกพืชไร ไมยืนตน ไมผล ยางพารา และปาลม
น้ํามัน มีขอจํากัดเล็กนอยที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมัก
ปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 ปลูกพืคลุมดิน ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือฐานหญาแฝกเฉพาะตน พัฒนา
แหลงน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
36