Page 32 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 32

23





                  และคาแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ยไรละ 318.18  บาท  รองลงมาไดแก  คาวัสดุปจจัยการเกษตร  โดยเฉพาะ

                  คาปุยเคมีคิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 765.43 บาท โดยใชปุยเคมีสูตร 15-15-15 ไรละ 31.00 กิโลกรัม ปุยสูตร
                  13-13-21 ไรละ 24.00 กิโลกรัม และปุยสูตร 0-0-60 ไรละ 24.00 กิโลกรัม นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่

                  เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาขนสงผลผลิตและคาน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อการขนสง (กรณีที่ใชพาหนะ

                  ของตนเอง) และคาเสียโอกาสเงินลงทุน ดังนั้นจะมีตนทุนผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 3,253.66 บาท

                  ในสวนของตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด  เกษตรกรจะมีตนทุนคงที่รวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ
                  392.52 บาท  โดยสวนใหญจะเปนตนทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด ไดแก คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 374.27 บาท

                  คาเสื่อมเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเฉลี่ยไรละ 15.25 บาท สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีเพียงอยางเดียว

                  คือคาภาษีที่ดินเฉลี่ยไรละ 3.00 บาท สําหรับการผลิตปาลมน้ํามันอายุ 25 ปขึ้นไป ในหนวยที่ดินที่ 26 นี้
                  เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดแลว   จะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                  ที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 7,465.60  บาท  แตเมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลว

                  ปรากฏวาเกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 6,482.71  บาทและจะไดรับผลตอบแทน
                  จากการลงทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 6,090.19 บาท   สําหรับปญหาในการผลิตไดแก   ปญหาปจจัยการผลิต

                  มีราคาสูง  ราคาผลผลิตตกต่ําและปญหาการขาดแคลนเงินทุน เปนตน (ตารางที่ 7  16  17 และ 39)


                  หนวยที่ดินที่ 26B
                             ยางพาราอายุ  9-13  ป  พันธุRRIM600 (ยางแผน)   การสํารวจเกษตรกรที่ปลูกยางพารา

                  อายุ 9-13 ป ในหนวยที่ดินที่ 26B  พบวามีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 9.31 ไร ไดผลผลิตประมาณไรละ

                  147.40  กิโลกรัม  คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,362.82  บาท  จากราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ย

                  กิโลกรัมละ 16.03 บาท เกษตรกรที่ปลูกยางพาราจะปลูกไวเพื่อขาย มีบางสวนที่ตองจายเปนคาจางแรงงานคน
                  ในการกรีดยาง เก็บน้ํายางและทําแผนยาง โดยคิดเปนรอยละ 88.64 และรอยละ 11.36 ตามลําดับ สถานที่

                  ขายผลผลิตนั้นสวนมากเกษตรกรขายที่บานมีพอคามารับซื้อคิดเปนรอยละ 59.89  รองลงมาเปนการนํา

                  ผลผลิตไปขายใหแกผูรับซื้อเองรอยละ 40.11  และผูที่รับซื้อผลผลิตเปนพอคาในทองถิ่นรอยละ 60.42
                  เปนพอคาในเมืองรอยละ 39.58 ใชตนทุนในการเพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,533.09 บาท ซึ่งประกอบดวย

                  ตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด ตนทุนผันแปรสวนใหญไดแก คาแรงงานคน

                  เฉลี่ยไรละ 1,434.74 บาท ซึ่งเปนแรงงานจางที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 262.46 บาท เปนแรงงานของตนเอง
                  และคนในครอบครัวเฉลี่ยไรละ 1,172.28 บาท แรงงานคนที่ใชมากไดแกการฉีดยาปราบและกําจัดวัชพืช

                  ใสปุย การทาหนายาง ทําแผนยาง การกรีดยางและเก็บน้ํายาง คาแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ยไรละ 19.56 บาท

                  ใชในการตัดหญา คาวัสดุปจจัยการเกษตร เชน คาปุยเคมีคิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 191.22 บาท โดยใชปุยเคมี

                  สูตร 15-15-15 ไรละ 18.29 กิโลกรัม สูตร 14-14-8 ไรละ 4.68 กิโลกรัม และสูตร 16-4-9 ไรละ 0.69 กิโลกรัม
                  คายาปราบวัชพืช คาแกส คาน้ํากรดสําหรับผสมกับน้ํายางเพื่อทํายางแผน  คายาทาหนายางเพื่อกันเชื้อรา

                  และคาวัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาขนสงผลผลิตและ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37