Page 111 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 111

ผ-3



                     หรือสีเทา   มีจุดประสีน้ําตาล  สีเหลือง  หรือสีแดงตลอดชั้นดิน  บางแหงมีศิลาแลงออนหรือกอนสารเคมี

                     สะสมพวกเหล็กแมงกานีสปะปนอยูดวย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ําหรือคอนขางต่ํา ปฏิกิริยา

                     ดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  4.5-5.5

                                   ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน  ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา

                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา  ในชวงฤดูแลง  บริเวณที่มีแหลงน้ําใชปลูกพืชไร
                     พืชผัก  หรือยาสูบ


                                   หนวยที่ดินที่ 7.1    มีเนื้อที่ทั้งหมด  727,837 ไร หรือรอยละ 10.38 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากวัตถุตนกําเนิดพวกตะกอนลําน้ํา   พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา  มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบ
                     หรือคอนขางเรียบ  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว  เนื้อดินเปน

                     พวกดินเหนียว  มีเนื้อดินบนเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียวสีเทาแก  ดินลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลออน

                     สีเทาหรือสีน้ําตาลปนเทา พบประจุสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดงปะปนตลอดชั้น  ดินมีความอุดมสมบูรณตาม

                     ธรรมชาติปานกลาง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางหรือถึงเปนกลาง  มีความคาเปนกรดเปนดางประมาณ
                     6.0-7.0


                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา ถาหากมีชลประทานและการจัดการที่ดี สามารถ

                     ทํานาได 2 ครั้ง  ใหผลผลิตคอนขางสูง  ในชวงฤดูแลง  บริเวณที่มีแหลงน้ํา  ใชปลูกพืชลมลุก  พืชไร  พืชผัก

                     หรือยาสูบ

                                   หนวยที่ดินที่ 7.1I    มีเนื้อที่ทั้งหมด  212,409  ไร  หรือรอยละ 3.03  ของเนื้อที่ลุมน้ํา
                                                   1
                     หนวยที่ดินนี้มีลักษณะและคุณสมบัติตางๆ  รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 7.1

                     แตกตางกันที่   หนวยที่ดินนี้จะมีระบบการชลประทานทั้งคลองสงน้ําและคลองระบายน้ํา   มีการสงน้ําให
                     ปลูกพืชได 2-3 ครั้งตอป  พื้นที่สวนใหญเหมาะตอการทํานา  แตบางพื้นที่สามารถปลูกพืชไร  เชน  ยาสูบได


                                   หนวยที่ดินที่ 7.1M   มีเนื้อที่ทั้งหมด  57,490 ไร หรือรอยละ 0.82 ของเนื้อที่ลุมน้ํา  มี
                                                     1
                     ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ  รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 7.1 แตกตางกันที่  หนวยที่
                     ดินนี้จะมีโครงการจัดรูปที่ดิน   ในรูปแบบของการพัฒนาพื้นที่ชนิดตางๆ   โดยการสรางระบบชล

                     ประทานและทําการยกรอง  สามารถทํานาไดถึง 3 ครั้ง


                                   หนวยที่ดินที่ 7.1M   มีเนื้อที่ทั้งหมด  15,325 ไร หรือรอยละ 0.22 ของเนื้อที่ลุมน้ํา มี
                                                     5
                     ลักษณะและคุณสมบัติตาง ๆ  รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 7.1  แตกตางกันที่ จะมี
                     การยกรองในพื้นที่  ชวยใหดินมีการระบายน้ําดีขึ้น  สามารถปลูกพืชไร  ไมผล  ไมยืนตนได เชน มะมวง

                     เปนตน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116