Page 110 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 110

ผ-2



                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา  บางแหงยกรอง  เพื่อปลูกพืชผักหรือผลไม  ซึ่ง

                     มักจะใหผลผลิตคอนขางสูง กลุมชุดดินนี้ไมคอยมีปญหาในการใชประโยชนที่ดิน  แตถาเปนที่ลุมมากๆ จะ

                     มีปญหาเรื่องน้ําทวมในฤดูฝน

                                   หนวยที่ดินที่ 4I มีเนื้อที่ทั้งหมด 32,653 ไร หรือรอยละ 0.46 ของเนื้อที่ลุมน้ํา หนวยที่ดิน
                                                 1
                     นี้มีคุณสมบัติและลักษณะตางๆ  รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 4  แตกตางกันที่หนวยที่
                     ดินนี้จะมีการใชระบบชลประทานทั้งคลองสงน้ําและคลองระบายน้ํา มีการสงน้ําใหปลูกพืชได 2-3 ครั้ง

                     ตอป พื้นที่สวนใหญเหมาะตอการทํานา


                                   หนวยที่ดินที่ 4I       มีเนื้อที่ทั้งหมด 515 ไร หรือรอยละ 0.07 ของเนื้อที่ลุมน้ํา หนวยที่ดินนี้
                                                 3
                     มีคุณสมบัติและลักษณะตาง ๆ รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 4 ทุกประการ แตกตาง

                     กันที่  หนวยที่ดินนี้  จะมีการขุดเจาะน้ําใตดินขึ้นมาใชเปนเนื้อที่มากกวารอยละ 50  ของพื้นที่  เนื่องจาก

                     ระบบการชลประทานไมพอเพียง

                                   หนวยที่ดินที่ 4M 1     มีเนื้อที่ทั้งหมด 191,236  ไร  หรือรอยละ 2.73  ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     โดยมีสภาพพื้นที่  คุณสมบัติและลักษณะตางๆ  ตลอดจนการใชประโยชนที่ดินเหมือนหนวยที่ดินที่ 4

                     แตกตางกันที่ในหนวยที่ดินนี้จะมีโครงการจัดรูปที่ดิน คือ ไดมีการพัฒนาปรับปรุงในรูปแบบตางๆ


                                   หนวยที่ดินที่ 5   มีเนื้อที่ทั้งหมด 118,266 ไร หรือรอยละ 1.69 ของเนื้อที่ลุมน้ํา  เกิดจาก
                     วัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา  พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา  มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบ  มีน้ํา

                     แชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว  มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียว  เนื้อดินบน

                     เปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาแก  ดินลางเปนดินเหนียวสีน้ําตาลออนหรือสีเทา  มีจุดประสีน้ําตาล

                     สีเหลือง  หรือสีแดงตลอดชั้นดิน  มักพบกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีส ปะปนอยู  และในชั้น
                     ดินลางลึกๆ  อาจพบกอนปูน  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ําถึงปานกลาง  ปฏิกิริยาดิน

                     เปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  5.5-6.5  แตถาดินมีกอนปูนปะปน

                     จะมีปฏิกิริยาเปนกลางหรือดางปานกลาง  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  7.0-8.0

                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา   ในบริเวณที่มีแหลงน้ําใชปลูกพืชไร   พืชผัก

                     และ ยาสูบในชวงฤดูแลง  ขาวที่ปลูกโดยมากใหผลผลิตคอนขางสูง


                                   หนวยที่ดินที่ 6.1      มีเนื้อที่ทั้งหมด 135,377 ไร  หรือรอยละ 1.93 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา สภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือ
                     คอนขางราบเรียบ  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว  เนื้อดินเปน

                     พวกดินเหนียว  มีเนื้อดินบนเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาแก ดินลางเปนดินเหนียวสีน้ําตาลออน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115