Page 109 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 109

ผ-1



                                                           ภาคผนวก



                          คุณสมบัติของหนวยที่ดินที่ถูกกําหนดใหสํารวจในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง 1/

                                   หนวยที่ดินที่ 3.3I     มีเนื้อที่ทั้งหมด  22,199 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.32 ของเนื้อที่ลุม
                                                   1
                     น้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางทั้งหมด  เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนผสมตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ํา

                     ทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย   พบในบริเวณที่ราบลุมหรือที่ราบเรียบ   บริเวณชายฝงทะเลหรือหาง

                     จากทะเลไมมากนัก   มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝนเปนดินลึกที่มีการะบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว   มีเนื้อดินเปน
                     พวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด  หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองลึกในฤดูแลง และมีรอยถูไถลในดิน  ดินบน

                     มีสีดํา สวนดินลางมีสีเทาหรือน้ําตาลออน  มีจุดประสีเหลืองและสีน้ําตาล ตลอดชั้นดิน  บางบริเวณอาจพบ

                     ประจุดสีแดงปะปน  หรืออาจพบผลึกยิปซัมบาง ที่ความลึกประมาณ 1.0-1.5 เมตร จะพบชั้นตะกอนทะเล

                     สีเขียวมะกอกและพบเปลือกหอยปน  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง   มีคาความเปนกรด
                     เปนดางประมาณ 6.5-8.0 ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง


                                   การใชประโยชนที่ดินสวนใหญใชในการทํานาหรือยกรองปลูกพืชผักและผลไม  ซึ่งไมคอย

                     มีปญหาในการใชประโยชนที่ดิน แตถาเปนที่ลุมมากๆ จะมีปญหาเรื่องน้ําทวมในฤดูฝน หรือถาหากอยูใน

                     บริเวณที่มีอิทธิพลของน้ําทะเลขึ้นลงอยูในรอบป อาจพบปญหาดินเค็มบาง ปจจุบันจะมีระบบของชล
                     ประทานทั้งคลองสงน้ําและคลองระบายน้ําใหสามารถปลูกพืชได 2-3 ครั้งตอป  เมื่อฝนทิ้งชวงนานจะมี

                     น้ําจากชลประทานเขามาเสริม  ในบางพื้นที่ฤดูแลงก็สามารถที่จะสงน้ําชลประทานใหได


                                   หนวยที่ดินที่ 4  มีเนื้อที่ทั้งหมด 496,132 ไร หรือรอยละ 7.08 ของเนื้อที่ลุมน้ํา ที่เกิด
                     จากวัตถุตนกําเนิดพวกตะกอนลําน้ํา  พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบลุมหรือ

                     ที่ราบเรียบ มีน้ําแชแข็งในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว มีเนื้อดินเปนพวก

                     ดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดูแลง และอาจมีรอยถูไถลในดิน ดินบนมี

                     สีดํา หรือเทาเขม ดินลางมีสีเทา น้ําตาล น้ําตาลออนหรือเทาปนเขียวมะกอก  มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง
                     สีเหลือง สีน้ําตาลแก  หรือสีแดง อาจพบกอนปูน  หรือกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสในชั้น

                     ดินลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย  มีคา

                     ความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5 แตถาดินมีกอนปูนปะปนจะมีปฏิกิริยาเปนกลางหรือดางปานกลาง

                     มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 7.0-8.0




                     1/
                       กรรณิสา  สฤษฎศิริ  การจําแนกหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง 2546
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114