Page 112 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 112

ผ-4



                                   หนวยที่ดินที่ 15     มีเนื้อที่ทั้งหมด  344,778 ไร หรือรอยละ 4.92 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากวัตถุตนกําเนิดพวกตะกอนลําน้ํา  พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา  มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบ

                     หรือคอนขางเรียบ  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลวหรือเลว  เนื้อดิน

                     เปนพวกดินรวนเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแหง  ดินบนมีสีน้ําตาลปนเทา  ดินลางสีน้ําตาลหรือ

                     สีเทาปนชมพู   พบประจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาลปนเหลืองตลอดชั้นดิน   ในดินชั้นลางมักพบกอน
                     สารเคมีสะสมพวกเหล็ก  และแมงกานีส  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ําถึงปานกลาง  ปฏิกิริยา

                     ดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  6.0-7.5


                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทํานา   ในฤดูแลงบริเวณใกลแหลงน้ํา   ใชปลูกยาสูบ   พืชผัก
                     ตางๆ หรือพืชไรบางชนิด  ถามีการชลประทาน  ใชทํานาได 2 ครั้งในรอบป


                                   หนวยที่ดินที่ 15I    มีเนื้อที่ทั้งหมด  112,520 ไร หรือรอยละ 1.60 ของเนื้อที่ลุมน้ํา มี
                                                   1
                     ลักษณะและคุณสมบัติ รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนหนวยที่ดินที่ 15 ทุกประการ  จะแตกตางกันที่
                     จะมีระบบชลประทานที่ดี คือ มีทั้งคลองสงน้ําและคลองระบายน้ํา  มีการสงน้ําใหปลูกพืชได 2-3 ครั้งตอป


                                   หนวยที่ดินที่ 15I      มีเนื้อที่ทั้งหมด  4,017 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่ลุมน้ํา  มี
                                                  2
                     สภาพพื้นที่และคุณสมบัติ   รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนหนวยที่ดินที่ 15   แตกตางกันที่จะมี

                     ระบบชลประทานทั้งคลองสงน้ําและคลองระบายน้ํา  มีการสงน้ําเพาะปลูกเฉพาะในฤดูฝน  คือ เมื่อฝนมี
                     การทิ้งชวงนาน จะมีน้ําจากชลประทานเขามาเสริม  ในบางพื้นที่ฤดูแลงก็สามารถสงน้ําชลประทานใหได


                                   หนวยที่ดินที่ 15M   มีเนื้อที่ทั้งหมด  65,587 ไร หรือรอยละ 0.96 ของเนื้อที่ลุมน้ํา มี
                                                    1
                     ลักษณะและคุณสมบัติ รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนหนวยที่ดินที่ 15  แตกตางกันที่มีโครงการจัดรูป
                     ที่ดินในพื้นที่  ดวยการยกรองทําคันดินเสริม  เหมาะสําหรับการทํานา


                                   หนวยที่ดินที่ 15M     มีเนื้อที่ประมาณ  2,043 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุมน้ํา
                                                    5
                     หนวยที่ดินนี้มีลักษณะและคุณสมบัติเหมือนหนวยที่ดินที่ 15  แตกตางกันที่มีการยกรองน้ําดินในพื้นที่
                     ชวยใหดินมีการระบายน้ําดีเหมาะสําหรับปลูกไมผลและไมยืนตน


                                   หนวยที่ดินที่ 15M  มีเนื้อที่ประมาณ  2,881 ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุมน้ํา
                                                     6
                     มีคุณสมบัติและลักษณะเหมือนหนวยที่ดินที่ 15  แตกตางกันที่พื้นที่บางบริเวณไดมีการพัฒนาในรูปแบบ

                     อื่น ๆ พื้นที่สวนใหญจะใชในการปลูกขาวแตมีบางพื้นที่ไดนํามาปลูกพืชไร เชน ออย  เปนตน

                                   หนวยที่ดินที่ 16.1    มีเนื้อที่ประมาณ  126,040 ไร หรือรอยละ 1.80 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากวัตถุตนกําเนิดพวกตะกอนลําน้ํา  พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา  มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบ

                     หรือคอนขางเรียบ  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลวหรือเลว  เนื้อดิน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117