Page 114 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 114

ผ-6



                     ออน  และพบจุดประสีตางๆ   เชน  เทา  น้ําตาล  น้ําตาลปนเหลืองตลอดชั้นดินและในเนื้อดินมักมีแรไมกา

                     ปะปนอยูดวย ดินมีความสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงปานกลาง มีคาความ

                     เปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 พื้นที่บางบริเวณไดมีการพัฒนาในรูปแบบอื่นๆ พื้นที่สวนใหญเปนที่

                     ราบลุมเหมาะตอการทํานา แตก็มีบางสวนนํามาปลูกพืชไร เชน ออย เปนตน

                                   หนวยที่ดินที่ 31       มีเนื้อที่ประมาณ  657 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของวัสดุเนื้อละเอียด

                     หรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา  พบบริเวณพื้นที่ดอน  ที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา

                     เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง  เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว  สีดินเปนสีน้ําตาล  สีเหลือง
                     หรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลางมีคาความ

                     เปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0


                                   ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก บริเวณที่มีความลาดชันจะมีปญหาเกี่ยวกับ
                     การชะลางพังทลายของหนาดิน และดินมีโอกาสขาดแคลนน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก


                                   หนวยที่ดินที่ 31B   มีเนื้อที่ประมาณ 2,535 ไร หรือรอยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     มีคุณสมบัติและลักษณะตางๆ   รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 31  แทบทุกประการ

                     แตกตางกันที่  พบในบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน  2-5 เปอรเซ็นต การไหล
                     ผานของน้ําบนผิวดิน


                                   หนวยที่ดินที่ 33.2   มีเนื้อที่ประมาณ  965,283 ไร หรือรอยละ 13.77 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     เกิดจากพวกตะกอนลําน้ํา  พบบนสันดินริมน้ําเกา  เนินตะกอนรูปพัดหรือที่ราบตะกอนน้ําพา  พบบริเวณ
                     พื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่คอนขางเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด  เปนดินลึกมาก การระบายน้ําดีถึงปานกลาง

                     เนื้อดินเปนพวกดินทรายแปงหรือดินรวนละเอียด สีดินเปนสีน้ําตาล หรือสีน้ําตาลปนแดง  บางแหงในดิน

                     ลางลึกๆ  มีจุดประสีเทาและสีน้ําตาล  อาจมีแรไมกาหรือกอนปูนปะปนอยูดวย มีความอุดมสมบูรณตาม

                     ธรรมชาติปานกลาง  ดินชั้นบนมักมีปฏิกิริยาเปนกรดเล็กนอยมีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  5.5-6.5
                     สวนดินชั้นลาง  ถามีกอนปูนปะปน  มีปฏิกิริยาเปนกลางถึงเปนดางจัด   มีคาความเปนกรดเปนดาง

                     ประมาณ 7.0-8.5

                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรตางๆ เชน ขาวโพด ออย  ฝาย  ยาสูบ ถั่วตางๆ และ

                     สับปะรด บางแหงใชปลูกไมผลหรือเปนที่อยูอาศัย ดินกลุมนี้ ไมคอยมีปญหาในการใชประโยชน

                                   หนวยที่ดินที่ 33.2B    มีเนื้อที่ประมาณ  128,964 ไร หรือรอยละ 1.84 ของเนื้อที่ลุมน้ํา

                     มีคุณสมบัติและลักษณะ   รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 33.2   แตกตางกันที่
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119