Page 115 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 115

ผ-7



                     หนวยที่ดินนี้จะพบในบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดมีความลาดชัน  2-5  เปอรเซ็นต  การไหล

                     ผานของน้ําบนผิวดินเร็ว ทําใหมีปริมาณการสูญเสียผิวดินเพิ่มมากขึ้น


                                   หนวยที่ดินที่ 33.2I    มีเนื้อที่ประมาณ  26,542 ไร หรือรอยละ 0.38 ของเนื้อที่ลุมน้ํา มี
                                                    3
                     คุณสมบัติและลักษณะ  รวมทั้งการใชประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 33.2   แทบทุกประการ
                     แตกตางกันที่ในหนวยที่ดินนี้มีการขุดเจาะน้ําใตดินขึ้นมาใชเพื่อชวยในการเพาะปลูก  เปนเนื้อที่มากกวา

                     50  เปอรเซ็นตของพื้นที่


                                   หนวยที่ดินที่ 38.1   มีเนื้อที่ประมาณ  122,937  ไร หรือรอยละ 1.75 ของเนื้อที่ลุมน้ํา
                     เกิดจากดินตะกอนลําน้ํา  ที่มีลักษณะการทับถมเปนชั้น ๆ ของตะกอนลําน้ําในแตละชวงเวลา  พบบนสัน

                     ดินริมน้ํา  หรือที่ราบตะกอนน้ําพา   เปนพื้นที่ดอน   ที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ   เปนดินลึก   มีการ

                     ระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง  เนื้อดินเปนพวกดินรวนหรือดินรวนหยาบ  สีดินเปนสีน้ําตาลออน  อาจพบจุด

                     ประสีเทาและสีน้ําตาลในชั้นดินลาง   ในบางบริเวณมีแรไมกาหรือกอนหินปูนปะปนอยูดวย  ดินมีความ
                     อุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง   ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง  มีคาความเปนกรดเปนดาง

                     ประมาณ  5.5-7.0


                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชเปนที่อยูอาศัย  ปลูกผัก  และสวนไมผลและยาสูบ

                                   ดินกลุมนี้ไมมีปญหาในการใชประโยชน   ยกเวนในชวงฤดูฝนน้ําในลําน้ําอาจเออลนฝง

                     ทําความเสียหายใหแกพืชผลไม


                                   หนวยที่ดินที่ 44    มีเนื้อที่ประมาณ  50,288 ไร หรือรอยละ 0.72 ของเนื้อที่ลุมน้ํา
                     เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา   หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของพวกวัสดุเนื้อหยาบ

                     พบบริเวณพื้นที่ดอน  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเปนเนินเขา  เปนดินลึก  มีการระบายน้ําดี

                     มากเกินไป   เนื้อดินเปนพวกดินทราย  สีดินเปนสีเทา  หรือสีน้ําตาลออน  และในดินลาง  ที่ลึกมากกวา

                     150  เซนติเมตร  อาจพบเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย  บางบริเวณอาจพบ
                     จุดประสีตาง ๆ ในดินชั้นลาง  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา  ปฏิกิริยาดินโดยมากจะเปนกรด

                     จัดถึงเปนกลาง  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  5.5-7.0

                                   ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน   ไดแก   เนื้อดินเปนทรายจัดและหนามาก  พืชมี

                     โอกาสขาดน้ําไดงาย ดินมีความอุดมสมบูรณต่ําและโครงสรางไมดี  บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหา

                     เกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดิน

                                   ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรตางๆ  เชน   มันสําปะหลัง  ออย  สับปะรด  และปอ

                     สวนไมยืนตน ไดแก  มะพราว และมะมวงหิมพานต  บางแหงเปนปาเต็งรังหรือทุงหญาธรรมชาติ
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120