Page 106 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 106

5-5




                     ความชวยเหลือและจัดสรางอางกักเก็บน้ําขนาดเล็กใหกระจายอยูรอบๆ บริเวณพื้นที่การเกษตรนาจะเปนทาง

                     ออกที่เปนไปได   ควรมีการประสานความรวมมือระหวางหนวยงานของรัฐ เชน กรมชลประทาน กรมสง
                     เสริมการเกษตร  และกรมพัฒนาที่ดิน  เปนตน  กับเกษตรกรผูใชน้ําในหมูบานตางๆ  จะตองมีความเขม

                     แข็งในการจัดสรรทรัพยากรน้ํา เพื่อใหการใชทรัพยากรน้ําที่เริ่มจะจํากัดไดประโยชนสูงสุด

                                5. เพื่อเปนการลดตนทุนการผลิต  เนื่องจากตนทุนเกี่ยวกับคาจางแรงงานคนและเครื่องจักร

                     ภายในครัวเรือนและแรงงานจาง  ตลอดจนคาปุย  คาสารเคมี  เปนตนทุนที่มากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับคา

                     ใชจายในการผลิต   ตามโครงสรางตนทุน   ดังนั้นควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนแรงงาน

                     ภายในชุมชนและหมูบานใกลเคียง   ใหรูจักพึ่งพาและชวยเหลือซึ่งกันและกัน   ตลอดจนสงเสริมและ
                     สนับสนุนใหเกษตรกรในพื้นที่หันมาใชปุยคอกหรือปุยอินทรีย ปุยหมัก  และปุยชีวภาพเพื่อลดการใชปุย

                     เคมีในการปลูกพืชใหนอยลง  ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของ   จึงมีความจําเปนที่ตองดําเนินการจัดทําโครง

                     การหลายรูปแบบ เชน  การจัดทําแปลงสาธิตการใชปุยอินทรีย  ปุยชีวภาพ หรือปุยหมัก หรือการฝกอบรม
                     วิธีการทําปุยดังกลาวจากเศษวัสดุเหลือใชจากฟารมหรือจากวัตถุดิบราคาถูกที่หาไดจากในทองถิ่น  เพื่อลด

                     จํานวนสารเคมีที่ตกคางในดินและน้ํา รวมทั้งจะชวยลดตนทุนในการผลิตพืชใหนอยลงอีกดวย


                                6. เนื่องจากการปลูกขาวเปนอาชีพหลักของเกษตรกรในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง
                     เกษตรกรใชเนื้อที่เพาะปลูกขาวเปนจํานวนมาก ดินมีความอุดมสมบูรณเปนที่ราบลุม จึงเหมาะแกการเพาะ

                     ปลูกขาว ซึ่งนอกจากจะใชเปนอาหารหลักเพื่อการบริโภคในครัวเรือนแลวยังใชเพื่อการจําหนายดวย  สามารถ

                     สรางรายไดใหแกเกษตรกรคอนขางดี  ถึงแมจะตองเผชิญถึงปญหาความเสี่ยงหรือความไมแนนอนของผล
                     ผลิตและราคาผลผลิตก็ตาม   จึงควรสนับสนุนใหมีการผลิตใหเพียงพอตอการบริโภค  และควรสนับสนุนให

                     เกษตรกรใชพันธุสงเสริมแทนพันธุพื้นเมืองเดิมเพราะจะใหผลผลิตตอไรมากกวาเพื่อเพิ่มรายไดใหเกษตรกร

                     แตก็ควรจะดูวัตถุประสงคของเกษตรกรประกอบดวยและจากขอจํากัดดานขนาดที่ดินและจํานวนน้ําที่
                     ใชเพื่อการเกษตร  ตลอดจนสิ่งแวดลอมอื่นๆ  ที่เกี่ยวของ  ควรสงเสริมแนะนําใหเกษตรกรจัดระบบการ

                     ปลูกพืชที่เหมาะสมสอดคลองกับสถานะของครัวเรือนเกษตรกรเอง โดยอาศัยหลักการทําการเกษตรแบบพอเพียง

                     มาใชเปนแนวทางในการทําการเกษตร   ระบบการเกษตรที่เหมาะสมใหความสําคัญในการจัดที่ดินเพื่อเก็บ
                     กักน้ํา  ใหเพียงพอแกการทําฟารมแบบผสมผสาน  โดยมีการปลูกขาวรวมกับการปลูกพืชไรและไมผล

                     ตลอดจนการเลี้ยงสัตว   ที่สามารถจําหนายทํารายไดใหแกครัวเรือน  และในพื้นที่ไมมีน้ําชลประทาน

                     ควรแนะนําใหเกษตรกรปลูกพืชตระกูลถั่วชนิดตางๆ  เชน  ถั่วเหลือง  ถั่วเขียวผิวมัน  หรือถั่วเขียวผิวดํา

                     เพราะถั่วเปนพืชที่ใหน้ํานอย
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111