Page 15 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 15

1-6







                                   เมื่อ   Bt  =   ผลไดในปที่ t
                                           Ct  =   ตนทุนในปที่ t

                                               r  =   อัตราสวนลด

                                             t  =   ปที่ 1,2…….,n

                                4) ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยตอป

                                   เนื่องจากเงาะเปนไมผลยืนตน มีอายุยืนไมนอยกวา 25  ป เมื่อจะทํา
               การเปรียบเทียบกับการผลิตพืชอื่น ที่มีการปลูกและเก็บเกี่ยวภายในรอบ 1  ป จึงจําเปนจะตองทํา

               ฐานขอมูลใหเปนลักษณะเดียวกัน การวิเคราะหผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยตอปมีสูตรดังนี้

                       ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยตอป  = (มูลคาปจจุบันของผลได – มูลคาปจจุบันของตนทุน x CRF)

                       CRF= คือ ตัวกอบกูทุน (Capital Recovery Factor : CRF)

                                   ขอสมมุติในการวิเคราะห


                                   1. ตนทุนและผลไดของการปลูกเงาะ ปการผลิต 2547/48 ในแตละอายุ

               จะนํามาเปนฐานขอมูล ในการวิเคราะหตนทุนและผลไดตลอดอายุของมังคุด และแบงชวงของอายุ

               เงาะที่ศึกษาไวเปน 5 ชวงดังนี้ ปที่ 1 ปที่ 2-3 ปที่ 4-10  ปที่ 11-20 และปที่ 21-25
                                   2.  ตนทุนการผลิต ปริมาณผลผลิตและรายได กรณีที่ไมอาจเก็บตัวอยางไดนั้น

               จะใชคาเฉลี่ยของชวงปที่กําหนด สวนระดับราคาผลผลิตเงาะใชราคาเฉลี่ย 11.00 บาทตอกิโลกรัม

               ใชคํานวณรายไดหรือผลตอบแทนซึ่งจะเทากับ ปริมาณผลผลิต x ราคา
                                   3. อัตราดอกเบี้ยที่ใชในการทอนคาจะใชอัตราดอกเบี้ยเงินกูของธนาคาร

               เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ป 2547 ซึ่งเทากับรอยละ 5.5 และใชชวงระยะเวลาในการวิเคราะห

               เทากับ 25 ป ซึ่งเทากับการวิเคราะหไมผลไมยืนตนโดยทั่วไป


                 1.3.3  การกําหนดเขตการปลูกพืชเศรษฐกิจ เงาะ


                        นําพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรมประมาณ 165  ลานไร   จากรายงานความเหมาะสมของดิน

               กับการปลูกพืชเศรษฐกิจมาวิเคราะหรวมกับแผนที่เขตความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจ เงาะ

               การใชที่ดินปจจุบัน   ผลการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนจากการผลิต   สภาพปญหา ความตองการ
               ความชวยเหลือจากรัฐ ทัศนคติการใชที่ดินของเกษตรกรตลอดจนนโยบายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเงาะ

               เพื่อหาพื้นที่เปาหมายในการผลิตใหสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและ

               สหกรณ







               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                      สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20