Page 17 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 17

บทที่ 2

                                                          ขอมูลทั่วไป



                              เงาะเปนไมผลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย   ซึ่งมีถิ่นกําเนิด

                       อยูในแถบหมูเกาะมลายู      ในการทําสวนเงาะเพื่อประโยชนทางการคานั้นควรปลูกในพื้นที่ที่มี

                       สภาพแวดลอมเหมาะสม   โดยเงาะเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่มีอากาศรอนแตตองมีความชื้น
                       ในอากาศสูง   มีฝนตกกระจายเกือบตลอดป   ดินที่เหมาะสม คือ ดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                       ปนเหนียว มีอินทรียวัตถุสูง   การระบายน้ําดี   แหลงปลูกเงาะที่สําคัญของประเทศไทยสวนใหญ

                       อยูในภาคตะวันออกและภาคใตซึ่งลักษณะทางพฤกษศาสตร   การปลูก  และการดูแลรักษา

                       แสดงในภาคผนวก 1   ในที่นี้ขอกลาวถึงลักษณะทางกายภาพที่สําคัญของภาคตะวันออกและ
                       ภาคใตดังตอไปนี้



                       2.1 ภูมิประเทศ


                        2.1.1  ภาคตะวันออก


                                ภาคตะวันออกประกอบดวยพื้นที่ของจังหวัดปราจีนบุรี   สระแกว   ฉะเชิงเทรา   ชลบุรี

                       ระยอง   จันทบุรี   และตราด   มีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาและเทือกเขาสูง   ที่ราบแคบตอนบน
                       และที่ราบตามชายฝงทะเล   สําหรับที่ราบตอนบนอยูในจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเปนที่ราบระหวาง

                       เทือกเขาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเทือกเขาของภาคตะวันออก เดิมเทือกเขาทั้งสอง

                       อาจติดตอเปนเทือกเขาเดียวกัน   แตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาจึงทําใหแผนดินยุบตัวลง

                       เกิดที่ราบแคบระหวางเทือกเขาติดตอกับที่ราบของประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย
                                พื้นที่เปนเทือกเขาสูงในภาคตะวันออก ไดแก เทือกเขาจันทบุรีซึ่งเปนเทือกเขา

                       หินแกรนิต มียอดสูงสองยอด คือ ยอดเขาสอยดาวเหนือ และยอดเขาสอยดาวใต มีความสูงประมาณ

                       1,586  เมตร และ 1,633  เมตร ตามลําดับ นอกจากเทือกเขาที่กลาวแลวยังมีเทือกเขาบรรทัดอยูทางดาน
                       ตะวันออกของภาค   เปนเทือกเขาที่กั้นพรมแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย

                                นอกจากสภาพภูมิประเทศที่กลาวมาแลว   ในภาคตะวันออกยังประกอบดวยพื้นที่เนินเตี้ย

                       สลับกับพื้นที่ราบ  บางบริเวณมีภูเขาติดกับฝงทะเล   บริเวณฝงทะเลเปนที่ราบลุมที่น้ําทะเลเขาถึง
                       และปกคลุมไปดวยปาชายเลนเปนสวนใหญ   ในภาคตะวันออกยังมีเกาะเล็กและใหญอีกหลายเกาะ

                       ที่สําคัญไดแก   เกาะชาง   เกาะกูด   เกาะสีชัง   และเกาะลาน   ซึ่งเกาะเหลานี้เปนแหลงทองเที่ยว

                       ที่สําคัญในปจจุบัน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22