Page 18 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 18

2-2








                2.1.2  ภาคใต


                        ภาคใตประกอบดวยพื้นที่ของจังหวัดชุมพร   ระนอง   สุราษฎรธานี   พังงา   กระบี่
               ภูเก็ต   นครศรีธรรมราช   ตรัง   พัทลุง   สตูล   สงขลา   ปตตานี   ยะลา   และนราธิวาส   เปนภาคที่มี

               เทือกเขาเปนสันอยูตอนกลางและมีพื้นที่ลาดลงสูทะเลทั้ง 2  ดาน   ซึ่งทางดานตะวันออกเปนทะเล

               ของอาวไทย   สวนทางดานตะวันตกเปนทะเลอันดามัน   มีเทือกเขาภูเก็ตทอดยาวตั้งแตจังหวัดชุมพร

               จนถึงจังหวัดพังงา   ถัดตอไปเปนเทือกเขาหินปูนเตี้ย ๆ เทือกเขานครศรีธรรมราชเปนแนวตอ
               จากเทือกเขาภูเก็ตและทอดจากทางตอนใตของจังหวัดสุราษฎรธานีผานจังหวัดกระบี่ไปยังจังหวัด

               นครศรีธรรมราชถึงจังหวัดสตูล   เทือกเขาทั้งสองที่กลาวมีแนวขนานกับลองติจูดคลายแกนกลาง

               ของภาค   ทางตอนใตสุดของภาคมีเทือกเขาสันกาลาคีรีทอดยาวในแนวตะวันออกสูตะวันตก
               บางสวนของเทือกเขานี้เปนพรมแดนระหวางประเทศไทยและสหพันธรัฐมาเลเซีย   สําหรับพื้นที่

               บริเวณชายฝงทะเลของทั้งสองดาน คือ ดานอาวไทยและดานทะเลอันดามันเปนที่ราบแคบ

               โดยทั่วไป   แตทางดานตะวันออกหรือทางดานอาวไทยมีที่ราบกวางและใหญกวาทะเลอันดามัน

                        เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางดานธรณีวิทยาในภาคใตจึงทําใหชายฝงทะเลทางดาน
               ตะวันออกยกระดับสูงขึ้น (shoreline of emergence) จะสังเกตเห็นวาชายฝงทะเลมีลักษณะราบเรียบ

               มีหาดทรายที่กวางและสวยงามหลายแหง   ซึ่งแตกตางจากชายฝงทะเลทางดานตะวันตก

               เพราะแผนดินทางดานนี้ต่ําลง   ทําใหฝงทะเลจมน้ํา (shoreline of submergence) ขอบของฝงทะเล
               มีลักษณะขรุขระและเวาแหวงมาก   และยังมีเกาะอยูใกลฝงเปนจํานวนมาก   เกาะเหลานี้คือ ภูเขา

               ที่เรียงรายอยูใกลกับชายทะเลกอนที่จะจมลงนั่นเอง   เกาะที่สําคัญไดแก   เกาะภูเก็ต   เกาะตะรุเตา

               เกาะลันตา   เกาะลิบง   เกาะพระทอง   เปนตน   ฝงทะเลทางดานนี้มีความลาดชันมาก   หาดทราย
               มีขนาดแคบและมีน้ําลึกอยูใกลฝง   บริเวณที่เปนปากแมน้ําที่มีโคลนมากจะพบปาชายเลน

               โดยเฉพาะตั้งแตจังหวัดพังพังงาไปจนถึงจังหวัดสตูล   ในบริเวณชายฝงทะเลดานตะวันตกที่ติดตอ

               กับทะเลอันดามันนี้มีแมน้ําสั้นหลายสายไหลลงสูทะเลที่สําคัญไดแก   แมน้ําปากจั่น   แมน้ํากระบุรี
               และแมน้ําตรัง   นอกนั้นเปนลําธารสวนใหญ

                        สวนบริเวณชายฝงทะเลดานตะวันออกที่ติดกับอาวไทยนั้น มีสภาพพื้นที่ราบเรียบและกวาง

               จึงมีบริเวณที่เปนเขตน้ําตื้นกวางกวาทางดานตะวันตกเมื่อนับจากชายฝงออกไป  พบที่ราบชายฝงทะเล

               ตั้งแตจังหวัดชุมพรลงไปถึงจังหวัดนราธิวาส   และมีแมน้ําหลายสายที่เกิดบริเวณจากภูเขา
               ตอนกลางแลวไหลลงสูทะเล   ซึ่งเปนแมน้ําขนาดสั้นเชนเดียวกับภาคตะวันตก   แมน้ําที่สําคัญ

               ไดแก   แมน้ําชุมพร (คลองชุมพร) แมน้ําคีรีรัฐ   แมน้ําตาป   แมน้ําปากพนัง   แมน้ําโก-ลก   เปนตน

               สําหรับเกาะที่สําคัญทางชายฝงทะเลตะวันออกไดแก    เกาะสมุย   และเกาะพงัน   ซึ่งเปนสวนหนึ่ง

               ของหมูเกาะอางทอง   จังหวัดสุราษฎรธานี



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23