Page 12 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 12

1-3







                                1.3.2.2 ประเมินคุณภาพที่ดินแยกตามกลุมชุดดิน   และจําแนกระดับความเหมาะสม
                       เปน 4 ระดับ คือ

                                       S1     หมายถึง   ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง

                                       S2     หมายถึง   ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                                       S3     หมายถึง   ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                                       N       หมายถึง   ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม

                                1.3.2.3 จัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดินของเงาะ
                                       เนื่องจากแผนที่สภาพการใชที่ดินที่จัดทําโดยสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน

                       ไดระบุเงาะเปนไมผลผสม   เพราะตามสภาพความเปนจริงเงาะโดยสวนใหญปลูกเปนสวนผสม

                       โดยพืชที่ผสมดวยไดแก มังคุด เปนหลัก   จึงมีความจําเปนตองจัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดิน
                       เพื่อใชในการกําหนดเขตการใชที่ดินดังตอไปนี้

                                       ก)  เตรียมแผนที่และขอมูลสําหรับการศึกษา   ไดแก

                                          - แผนที่กลุมชุดดินของภาคตะวันออกและภาคใต

                                          - แผนที่สภาพการใชที่ดินของภาคตะวันออกและภาคใต
                                          - แผนที่ขอบเขตการปกครองมีความละเอียดระดับตําบล

                                          - พิกัดของจุดที่สัมภาษณ   และจุดที่ไมไดสัมภาษณ

                                          - ขอมูลพื้นฐานการเกษตรรายจังหวัดของจังหวัดในภาคตะวันออกและภาคใต

                       ของป 2547/2548   จากกรมสงเสริมการเกษตร
                                          - สถิติการเพาะปลูกเงาะรายอําเภอ   ปการเพาะปลูก 2546    จากกรมสงเสริม

                       การเกษตร

                                       ข)  การวิเคราะหขอมูล
                                          - ซอนทับแผนที่กลุมชุดดิน   สภาพการใชที่ดิน   ขอบเขตการปกครอง

                       โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                                          - สรางเงื่อนไขเพื่อสรางแผนที่สภาพการใชที่ดินตามที่ตองการ   โดยอาศัยขอมูล
                       จากกรมสงเสริมการเกษตรประกอบ โดยพิจารณาจากเนื้อที่เพาะปลูกในแตละตําบล  รวมกับ

                       สภาพการใชที่ดินที่เปนไมผลผสม   ปลูกในดินที่ดอน และพิกัดของจุดที่สัมภาษณและไมได

                       สัมภาษณเกษตรกร   เพื่อเปนจุดอางอิงในการหาพื้นที่ปลูกเงาะซึ่งสวนใหญเปนลักษณะสวนผสม
                                1.3.2.4 การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ วิเคราะหตนทุน รายได ผลตอบแทน ผลผลิต

                       เฉลี่ยตอไร ใชหลักเกณฑทางเศรษฐศาสตร  สวนขอมูลประกอบอื่น ๆ อาทิ สภาพปญหา

                       ความตองการความชวยเหลือจากรัฐและทัศนคติการใชที่ดินของเกษตรกรผูปลูกเงาะ เปนตน





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                      สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17