Page 11 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 11

1-2







               1.3 ขั้นตอนและวิธีดําเนินการ


                 1.3.1  การรวบรวมขอมูล ทําการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ ดังนี้

                        1.3.1.1 ขอมูลทุติยภูมิ รวบรวมขอมูลพื้นฐานตาง ๆ  ทั้งขอมูลเชิงอรรถาธิบายและขอมูล

               เชิงพื้นที่เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการศึกษา    เชน  สถิติเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต วิธีการปลูกและ

               ดูแลรักษา ตนทุนการปลูกเงาะ สภาพภูมิอากาศ  ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรปาไม
               สภาพการใชที่ดินฯลฯ จากหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กรมสงเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

               กรมชลประทาน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมศุลกากร กรมการคาภายใน กรมการปกครอง

               กรมอุตุนิยมวิทยา  เปนตน  พิจารณาประกอบกับนโยบายของรัฐ

                        1.3.1.2 ขอมูลปฐมภูมิ  สํารวจขอมูลเกษตรกรผูปลูกเงาะในปการผลิต 2547/48 โดยใช
               แบบสอบถามขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม ดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย (Simple Random


               Sampling)  ซึ่งจุดเก็บตัวอยางจะเปนจุดที่ไดกําหนดไวในแผนที่ที่ไดวิเคราะหและจัดชั้นความเหมาะสม
               ของที่ดินไวแลว จําแนกพื้นที่เก็บตัวอยางตามระดับความเหมาะสมสูง (S1) ปานกลาง (S2)  และ

               เล็กนอย (S3)    ณ  ระดับความเชื่อมั่น 90%±10  รายละเอียดขอมูลที่เก็บ ไดแก พื้นที่ปลูก ผลผลิต

               ราคา มูลคา ปริมาณและมูลคาการใชปจจัยการผลิต ปญหาและความตองการความชวยเหลือจากรัฐ
               ตําแหนงพิกัดจุดที่ตั้งของแปลงปลูกพืช ชื่อหมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด เปนตน มีจํานวนตัวอยาง

               รวมทั้งสิ้น 370 ตัวอยาง ใน 17 จังหวัดที่เปนแหลงปลูกที่สําคัญของแตละภาค ดังนี้

                                ภาคใต ไดแก จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี สตูล พังงา ระนอง กระบี่
               นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง ภูเก็ต และสงขลา

                                ภาคตะวันออก ไดแก จังหวัดจันทบุรี ระยองและตราด

                                ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก จังหวัดหนองคาย อุบลราชธานีและศรีสะเกษ


                1.3.2  การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล


                        เปนการนําเขาและวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานตาง ๆ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป

               อาทิ Microsoft Word Microsoft Excel  CROPWAT ALES  และโปรแกรมสารสนเทศ

               ภูมิศาสตร ไดแก  ARC/INFO และ ArcView เปนตน

                        1.3.2.1 นําเขาขอมูลเชิงพื้นที่สูระบบสารสนเทศภูมิศาสตร   ไดแก   พิกัดจุดเก็บตัวอยาง

               สัมภาษณเกษตรกรพรอมรายละเอียดแตละจุด และพิกัดจุดปลูกเงาะที่ไมไดสัมภาษณเกษตรกร

               เพื่อใชประกอบในการกําหนดเขตการใชที่ดิน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยแตละสถานีตรวจวัดในรอบ 33 ป
               เพื่อจัดทําเสนน้ําฝนเทา




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                      สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16