Page 40 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 40

2-26






                       ตารางที่ 2-4   : เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยของลิ้นจี่ ป 2540-2546


                                                พื้นที่เพาะปลูก (ไร)            ผลผลิต      ผลผลิตเฉลี่ย
                             ป
                                       ใหผลแลว     ยังไมใหผล     รวม          (ตัน)        (กก./ไร)

                           2540         80,746         39,613      120,359       58,627        726.06

                           2541         48,041         88,667      136,708       8,041         167.38
                           2542         81,468         65,409      146,877       61,018        748.98

                           2543         104,839        47,717      152,556       89,045        849.35

                           2544         111,223        50,594      161,807       82,768        744.16

                           2545         131,948        44,244      176,192      113,199        857.91
                           2546         146,212        63,108      209,320      125,221        856.43



                       ที่มา  :  กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ



                            2.5.2 สถิติการคาและการตลาด
                                     ลิ้นจี่นับวาเปนผลไมที่มีตลาดรองรับหลายตลาด เพราะนอกจากจะใชรับประทาน

                       ในรูปของผลไมสดแลว ยังสามารถแปรรูปสําหรับเปนสินคาสงออกไดอีกดวย ทําใหเกษตรกร

                       มีทางเลือกในการจําหนายลิ้นจี่ไดหลายชองทาง โดยไมตองพึ่งพาตลาดใดตลาดหนึ่ง จึงถือไดวาลิ้นจี่
                       เปนผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง

                                     ลักษณะการซื้อขายลิ้นจี่

                                         การซื้อขายลิ้นจี่ระหวางเกษตรกรกับพอคาคนกลางสวนใหญแลวพอคาคนกลาง
                       มักจะเปนผูที่กําหนดราคาในการซื้อขาย ซึ่งราคาซื้อขายจะแตกตางกันออกไปตามเกรดและขนาด

                       ของผลลิ้นจี่ โดยทั่วไปการจัดชั้นคุณภาพ หรือการจัดเกรดของลิ้นจี่ จะแตกตางกันไปตามแตละพื้นที่

                       ทางภาคเหนือจะคัดเกรดเปน 4 ขนาด คือ จัมโบ ใหญ กลาง เล็ก สวนทางจังหวัดสมุทรสงคราม
                       จะคัดเกรดเปน 3 ขนาด คือ ใหญ กลาง เล็ก ซึ่งรูปแบบการขายลิ้นจี่ของเกษตรกรจะมี 3 รูปแบบ คือ

                                         1)  การขายแบบเหมาสวน

                                                เกษตรกรชาวสวนลิ้นจี่จะขายผลผลิตแบบเหมาสวนใหกับพอคา

                       ในทองถิ่น ซึ่งเกษตรกรจะขายแบบเหมาสวนกอนที่ผลผลิตจะออกสูตลาด โดยพอคาคนกลางจะเขามา
                       เหมาสวนเริ่มตั้งแตผลผลิตเริ่มเปลี่ยนสี คือ เริ่มเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีเหลืองออกแดง ผลผลิตแก

                       เต็มที่พรอมที่จะเก็บเกี่ยว แตพอคาจะไมนิยมเหมาสวนในชวงติดดอกออกผล เพราะเปนระยะที่ไม







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45