Page 44 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 44

2-30






                                         2)  การขนสงไปตางประเทศ
                                                นิยมขนสงโดยทางเครื่องบิน ทางบก และทางเรือ โดยมีการบรรจุหีบหอ

                       ผลผลิตลิ้นจี่ลงในตูคอนเทรนเนอรหองเย็น ถาหากจะขนสงทางเรือ พอคาจะขนสงตูคอนเทรนเนอร

                       ไปลงเรือที่กรุงเทพฯ เพื่อสงออกไปยังตางประเทศตอไป
                                     การตลาดลิ้นจี่

                                         การตลาดของลิ้นจี่ สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก

                                      1.  ตลาดภายในประเทศ  ลักษณะการบริโภคของผูบริโภคภายในประเทศ

                       จะแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ การบริโภคผลสด และการแปรรูป ซึ่งตลาดที่สําคัญ ไดแก
                       ตลาดในกรุงเทพฯ ตลาดในจังหวัดเชียงใหมและจังหวัดใกลเคียงและโรงงานแปรรูปลิ้นจี่กระปอง

                       ซึ่งตลาดในกรุงเทพฯ นั้น พอคาขายสงจะเปนผูทําหนาที่ขนสงผลผลิตลิ้นจี่จากทางภาคเหนือ

                       ตอไปยังพอคาขายสงหรือพอคาขายปลีกในกรุงเทพฯ จากนั้นพอคาในกรุงเทพฯ จะทําหนาที่

                       กระจายผลผลิตลิ้นจี่ไปสูตลาดเปาหมายหรือผูบริโภคตอไป สําหรับสถานการณดานราคาลิ้นจี่
                       ที่เกษตรกรขายไดจะมีแนวโนมขึ้นลงแลวแตปริมาณผลผลิตที่ออกสูตลาดในแตละป หากปใด

                       ปริมาณผลผลิตมากราคาก็จะต่ําลงแตถาปใดปริมาณผลผลิตลดลงระดับราคาก็จะสูงขึ้น ซึ่งราคาลิ้นจี่

                       ที่เกษตรกรขายไดจะขึ้นอยูกับขนาดของลิ้นจี่ซึ่งตองมีการคัดขนาดโดยการคัดขนาดจะแตกตางกันไป
                       ในแตละพื้นที่ ทางภาคเหนือจะคัดขนาดเปน 4 ขนาด ไดแก จัมโบ ใหญ กลาง เล็ก ทางจังหวัด

                       สมุทรสงครามจะคัดขนาดเปน 3 ขนาด ไดแก ใหญ กลาง เล็ก ซึ่งราคาเฉลี่ยของลิ้นจี่ทุกพันธุที่เกษตรกร

                       ขายไดในป 2547 มีราคาเฉลี่ยประมาณกิโลกรัมละ 13.27-26.59 บาท (ศูนยสารสนเทศการเกษตร
                       สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2547)

                                   2.  ตลาดตางประเทศ  จากขอมูลของกรมศุลกากรในป 2547 พบวา ประเทศ

                       ไทยมีการสงออกลิ้นจี่ทั้งในรูปของลิ้นจี่สดและผลิตภัณฑของลิ้นจี่ คือ ลิ้นจี่กระปอง ซึ่งตลาดสงออก
                       ที่สําคัญในแตละลักษณะการสงออก มีดังนี้

                                            2.1  ลิ้นจี่สด  จากขอมูลของกรมศุลกากรในป 2547 พบวา ประเทศไทย

                       มีการสงออกลิ้นจี่สดปริมาณ 9,271 ตัน คิดเปนมูลคาประมาณ 177.589 ลานบาท ประเทศที่นําเขา

                       ลิ้นจี่สดจากไทยมากที่สุดคือ สาธารณรัฐประชาชนจีน และฮองกง โดยมีปริมาณนําเขาลิ้นจี่สด
                       รวมกันประมาณ 5,594 ตัน คิดเปนรอยละ 60.34 ของปริมาณการสงออกลิ้นจี่สดทั้งหมด

                       ของประเทศไทย รองลงมา ไดแก อินโดนีเซีย เนเธอรแลนด สิงคโปร สหราชอาณาจักร และมาเลเซีย

                       แมวาผลผลิตลิ้นจี่ของไทยจะสามารถออกสูตลาดตางประเทศไดเร็วกวาประเทศอื่นๆ แตปริมาณ

                       และมูลคาการสงออกลิ้นจี่สดของไทยในระยะเวลา 10 ป (พ.ศ.2538-2547) มีปริมาณและมูลคาขึ้นลง
                       ไมแนนอน เนื่องจากลิ้นจี่เปนผลไมที่ตองการอากาศที่หนาวเย็นเปนระยะเวลานานในชวงออกดอก





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49