Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 36

2-22






                                     2) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                            โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบงเปน

                       โครงการขนาดใหญและขนาดกลาง จํานวน 297 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 3,342,000 ไร

                       โครงการขนาดเล็ก จํานวน 5,020 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 3,260,000 ไร และโครงการสูบน้ํา
                       ดวยไฟฟา จํานวน 1,041 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,506,000 ไร

                                     3) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคกลาง

                                            โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคเกลางแบงเปนโครงการขนาดใหญ

                       และขนาดกลาง จํานวน 109 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 12,078,000 ไร โครงการขนาดเล็ก
                       จํานวน 1,548 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 2,773,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา

                       จํานวน 137 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 188,000 ไร

                                     4) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออก

                                            โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกแบงเปนโครงการขนาดใหญ
                       และขนาดกลาง จํานวน 67 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,447,000 ไร โครงการขนาดเล็ก

                       จํานวน 673 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,002,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา

                       จํานวน 84 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 148,000 ไร
                                     5) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคใต

                                            โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคใตแบงเปนโครงการขนาดใหญ

                       และขนาดกลาง จํานวน 84 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 2,061,000 ไร โครงการขนาดเล็ก
                       จํานวน 1,198 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,555,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา

                       จํานวน 99 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 115,000ไร



                       2.5  สภาพการผลิตและการใชประโยชน


                            2.5.1 แหลงผลิตที่สําคัญ
                                     ลิ้นจี่เปนไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย  แหลงปลูกดั้งเดิม

                       สันนิษฐานวาอยูทางตอนใตของสาธารณรัฐประชาชนจีน  ซึ่งตอมาลิ้นจี่ไดแพรขยายพื้นที่ปลูก

                       ออกไปยังประเทศตางๆ มากขึ้น สําหรับการปลูกลิ้นจี่ในประเทศไทยเริ่มตั้งแตเมื่อใดไมปรากฏแนชัด
                       แตจากหลักฐานซึ่งไดมีการบันทึกโดยชาวฝรั่งเศสที่เขามาในรัชกาลที่ 4 (ระหวาง พ.ศ.2394-2411)

                       ไดกลาวถึงลิ้นจี่อยูดวย  จึงแสดงวาสมัยนั้นไดมีการนําลิ้นจี่เขามาในประเทศไทยแลว  ในภาคเหนือ

                       ของเราก็เชนกันไมมีหลักฐานที่แนชัดวาไดมีการปลูกลิ้นจี่มานานเทาใด  แตพบวามีตนลิ้นจี่ที่เกาแก

                       ที่สุดที่ หมู 3 ต.สันทราย อ.สันทราย จ.เชียงใหม เปนพันธุฮงฮวย และพบตนลิ้นจี่อายุประมาณ 60 ป




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41