Page 39 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 39

2-25






                        ที่ อ.แมใจ จ.พะเยา เปนตนที่ปลูกจากเมล็ด ในปจจุบันเกษตรกรไดใหความสนใจในการปลูกลิ้นจี่
                       กันแพรหลายมากขึ้นเกือบทุกภาคของประเทศ ทั้งนี้ เพราะลิ้นจี่เปนผลไมที่ราคาคอนขางแพง

                       การปลูกและการดูแลรักษางาย ที่สําคัญผูบริโภคทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ ตางชื่นชอบ

                       ในรสชาดที่หวาน หอม อรอย ดังนั้น ลิ้นจี่จึงเปนผลไมที่เปนที่ตองการของตลาดทั้งภายในประเทศและ
                       ตลาดตางประเทศ

                                     ปจจุบันแหลงปลูกลิ้นจี่ในประเทศไทยจะมี  2  แหลงใหญๆ  คือ  บริเวณภาคเหนือ

                       ตอนบนและบริเวณภาคกลาง  ซึ่งแหลงปลูกพืชทั้งสองแหลงจะใชพันธุของลิ้นจี่ที่แตกตางกัน
                       โดยสิ้นเชิง  หากจําแนกพันธุลิ้นจี่ที่ปลูกในประเทศไทยสามารถแบงออกไดเปน  2  กลุมพันธุใหญๆ

                       ตามแหลงปลูกไดดังนี้

                                  1)  บริเวณภาคเหนือตอนบน  กลุมพันธุที่ปลูกทางภาคเหนือเปนพันธุที่ตองทน

                       ความหนาวเย็นมากและยาวนานกอนการออกดอกมากกวาพันธุที่ปลูกบริเวณภาคกลาง  พันธุลิ้นจี่
                       ที่ปลูกบริเวณนี้  ไดแก  ฮงฮวย  จักรพรรดิ์  กิมเจ็ง  โอวเฮียะ  เปนตน  พื้นที่ปลูกสวนใหญ

                       จะอยูบริเวณจังหวัดพะเยา  เชียงใหม  เชียงราย และนาน

                                  2)  บริเวณภาคกลาง กลุมพันธุที่ปลูกบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออก

                       สวนใหญตองการความหนาวเย็นไมมากและหนาวเย็นไมนาน ก็สามารถชักนําใหออกดอกได
                       ไดแก พันธุคอม กะโหลกใบยาว สําเภาแกว ไทยใหญ ไทยธรรมดา และสาแหรกทอง เปนตน

                       พื้นที่ปลูกจะปลูกบริเวณที่ราบต่ําแถวอําเภออัมพวา และอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

                       และบริเวณอําเภอโปงน้ํารอน และอําเภอเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี เปนตน
                                     พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิตและผลผลิตเฉลี่ยของลิ้นจี่

                                         จากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตร  ในป 2546 พบวา พื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่

                       มีประมาณ 209,320 ไร เปนพื้นที่ที่ใหผลผลิตแลว 146,212 ไร และพื้นที่ยังไมใหผลผลิต 63,108 ไร
                       ผลผลิตรวม 125,221 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 856 กิโลกรัมตอไร  โดยพื้นที่เพาะปลูกสวนใหญมากกวา

                       รอยละ 80 จะอยูบริเวณภาคเหนือตอนบน บริเวณจังหวัดเชียงใหม เชียงราย พะเยา และนาน

                       ที่เหลือกระจายอยูบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกแถวจังหวัดสมุทรสงคราม และจันทบุรี

                       หากพิจารณาแนวโนมของการขยายพื้นที่เพาะปลูกในชวงระยะเวลา 7 (ป 2540-2546) จะพบวา
                       มีแนวโนมขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นทุกป กลาวคือ ในป 2540 มีพื้นที่เพาะปลูก 120,359 ไร

                       เมื่อถึงป 2546 มีพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นเปน 209,320 ไร โดยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงรอยละ

                       73.91 ของพื้นที่เพาะปลูกในป 2540 (ตารางที่ 2-4)








                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44