Page 38 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                                  2.2) ด้าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า และฟื้นฟูพื นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่มตามแบบที่ได้
                  ส้ารวจไว้ เพื่อป้องกันและฟื้นฟูสภาพป่าให้คงสภาพนิเวศน์ป่าให้สมบูรณ์ ร่วมกับการปลูกหญ้าแฝก และท้าบ่อ

                  ดักตะกอนดิน ซึ่งการจัดท้ารูปแบบของการอนุรักษ์ดินในลักษณะการจัดท้าคูรับน ้ารอบขอบเขา ท้าทางล้าเลียง
                  ร่วมกับการปลูกแฝก เพื่อชะลอความเร็วของน ้าที่ไหลลงมาจากด้านบน
                                  2.3) สนับสนุนให้เกษตรกรมีการปลูกพืชไม้ยืนต้น ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง รวมถึง
                  ก้าหนดมาตรการในการใช้ที่ดินให้ถูกต้อง เพื่อรักษาและฟื้นฟูสภาพดินไม่ให้ถูกท้าลาย ปลูกไม้โตเร็ว และไม้เศรษฐกิจ

                                  2.4) ติดตามและประเมินผลการด้าเนินงาน
                               3) ผลผลิต (output) พื นที่เกษตรกรรมที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม ได้รับการอนุรักษ์ดินและน ้า
                  ป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อภัยดินถล่ม
                               4) ผลลัพธ์ (outcome) ลดความเสียหายจากภัยดินถล่ม และสามารถใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  เพื่อการเกษตรได้
                               5) ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรในพื นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่มสามารถใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  เพื่อการเกษตรได้อย่างยั่งยืน

                         2.2.3 กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าบนพื นที่ลุ่ม-ดอน
                               1) วัตถุประสงค์

                                  1.1) เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื นที่ลุ่ม-ดอน และสามารถเก็บกักน ้าและ
                  ความชุ่มชื นไว้ในพื นที่
                                  1.2) เพื่อให้เกษตรกรเห็นความส้าคัญของการอนุรักษ์ดินและน ้า และท้าการเกษตรควบคู่

                  ไปกับการอนุรักษ์ดินและน ้า
                               2) วิธีการและขั นตอนการด้าเนินงาน

                                  2.1) ส้ารวจพื นที่เป้าหมายที่มีปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน หรือมีลักษณะที่เป็นปัญหา
                  อุปสรรคต่อการท้าการเกษตร เพื่อวางแผนในการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
                                  2.2) ออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน ้า โดยก้าหนดมาตรการและวิธีการอนุรักษ์ดินและน ้า

                  ลงบนแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 เพื่อใช้ในการก่อสร้างระบบอนุรักษ์ฯ
                                  2.3) การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ด้าเนินการตามแบบที่ได้ส้ารวจออกแบบไว้
                  ตามแต่ละพื นที่ให้เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความลาดชันของพื นที่ ความรุนแรงของการชะล้างพังทลาย
                  ของดิน และคาดหวังให้เก็บกักน ้าไว้เพื่อสร้างความชุ่มชื นของพื นที่ด้วย โดยมีลักษณะและรูปแบบ คือ

                                        (1) คันดินแบบที่ 1 (คันดินเบนน ้า)
                                        (2) คันดินแบบที่ 2 (คันดินเก็บกักน ้า)
                                        (3) คันดินแบบที่ 3 (คันดินกั นน ้าฐานกว้าง)
                                        (4) คันดินแบบที่ 4 (คันดินกั นน ้าฐานแคบ) /บริเวณ slope ไม่เกิน 15%

                                        (5) คันดินแบบที่ 5 (คันคูรับน ้าขอบเขา)
                                        (6) คันดินแบบที่ 6 (คันคูรับน ้าขอบเขา)
                                        (7) ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1
                                        (8) ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2

                                        (9) ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 (ขุดคูยกร่อง)
                                  2.4) ควบคุมการก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน ้าให้เป็นไปตามแบบที่ได้ส้ารวจและวางแผนไว้
                                  2.5) ติดตามประเมินผลในพื นที่ ก่อน-หลัง การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43