Page 98 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 98

หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                                                                                                  81
                                                                ถอดบทเรียน :


                                             มังคุดยั่งยืน เพิ่มรายได้ ด้วยจุลินทรีย์ พด.


                                           “เพิ่มพูนผลผลิต บนผืนดินที่สมบูรณ์ เกษตรกรมีสุขภาพที่แข็งแรง”


                                                 นายกัมพล สถิตย์ หมอดินอาสาประจ าจังหวัดตราด
                                               127 หมู่ 8 ต าบลเขาสมิง อ าเภอเขาสมิง จังหวัดตราด

                ความเป็นมา

                       หมอดินกัมพล เกิดที่จังหวัดปราจีนบุรี เมื่ออายุได้ 1 ปี ครอบครัวได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดตราด และได้ริเริ่มท า

                เกษตรกรรมในปี 2530 โดยในช่วงแรกต้องประสบกับปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพ
                เป็นดินเหนียวปนลูกรัง รวมถึงขาดแคลนน  าใช้ ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญในการเจริญเติบโตของพืช แต่ด้วยความมุมานะ และ
                เพียรพยายาม หมอดินกัมพลได้ใช้เวลาทุกวินาทีไปกับการศึกษาค้นคว้า และมีโอกาสได้ขอรับบริการจากหน่วยงานใน
                สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะในเรื่องของการจัดการดินและน  า เมื่อมีโอกาสเป็นหมอดินอาสาจึงได้

                เรียนรู้วิธีการปรับปรุงบ ารุงดิน การน าเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดินและนวัตกรรมเกษตรมาปรับใช้กับพื นที่ของตนเอง
                ท าให้วันนี  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ มังคุดมีคุณภาพมากขึ น ลูกใหญ่ ผิวมัน ราคาสูง รายได้เพิ่มมากขึ น


                                                                                             การจัดการพื้นที่

               ช่วงกระตุ้นดอก
               ปุ๋ย: น  าหมักไข่ 1 ลิตรต่อน  า 200 ลิตร
               น  า: ให้น  า 1,000-2,000 ลิตรต่อต้น 1 ครั ง เว้นระยะ 10-15 วัน และให้น  า 200 ลิตรต่อต้น

               ช่วงออกดอกติดผล ปุ๋ย: ปุ๋ยอินทรีย์ (สารเร่งซุปเปอร์ พด.1) 100 กิโลกรัมต่อต้น พร้อมละลายปุ๋ย 15-5-20 ปริมาณ
               5 กิโลกรัม ในน  าหมักปลา (สารเร่งซุปเปอร์ พด.2) 10 ลิตรต่อน  า 200 ลิตร
               น  า: ระยะดอกแย้มให้น  า 200 ลิตรต่อต้น ระยะปากนกแก้ว 300 ลิตรต่อต้น ทุก 1 วัน เว้น 2 วัน ระยะปากนกแก้วร่วงพื น

               600 ลิตรต่อต้น ทุก 1 วัน เว้น 2 วัน จ านวน 2 ครั ง
               การก าจัดเพลี ยไฟ: ฉีดพ่นสารอะบาเม็กติน 1 ลิตรต่อน  า 1,000 ลิตร ทุก 5 วัน จ านวน 5 ครั ง
               การป้องกันเชื อรา:  ฉีดพ่นน  าหมักมังคุด (สารเร่งซุปเปอร์ พด.2) 1-2 ลิตรต่อน  า 200 ลิตร ทุก 5 วัน จ านวน 5 ครั ง
               การป้องกันแมลง: ฉีดพ่นน  าหมักกลอย (สารเร่งซุปเปอร์ พด.7) 10 ลิตรต่อน  า 1,000 ลิตร ทุก 7 วัน จนมังคุดรุ่นสุดท้าย

               มีผิวแข็งเท่าลูกหมาก

               ช่วงพัฒนาผล
               ปุ๋ย: ละลายปุ๋ย 15-5-20 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อมังคุด 30-40 ต้น ปล่อยทางระบบน  า
               น  า: ให้น  า 200 ลิตรต่อต้น ทุก 1 วัน เว้น 1 วัน

               ช่วงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
               ปุ๋ย: ละลายปุ๋ย 21-0-0 ปริมาณ 5 กิโลกรัม ในน  าหมักปลา (สารเร่งซุปเปอร์ พด.2) 10 ลิตรต่อน  า 200 ลิตร
               ต่อมังคุด 30-40 ต้น ปล่อยทางระบบน  า จ านวน 2 ครั ง


                    เทคโนโลยี                                                เส้นทางสู่ความส าเร็จ

               • การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 พด.2 และ พด.7 ของกรมพัฒนาที่ดิน  • ใช้ความรู้เป็นทุน ศึกษาเพิ่มเติมทุกวินาที
               • การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและความต้องการธาตุอาหารของพืช      สังเกตและน ามาปรับใช้อย่างเหมาะสม

                  (Crop requirement)                                         • อินทรีย์น าเคมี คุณภาพผลผลิตดี
               • การก าจัดศัตรูพืช โดยฉีดพ่นสารเคมีเพื่อท าลาย ตามด้วยสารอินทรีย์  ประโยชน์สูง สุขภาพแข็งแรง
                  เพื่อควบคุมในระยะยาว                                          เกษตรกรรมยั่งยืน
               • การวางระบบท่อกระจายน  าในแปลง


                              สถานีพัฒนาที่ดินตราด ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103