Page 101 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 101

หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                                                                                                  84



                             ถอดบทเรียน : มังคุด


    นายบุญยืน วชิรเติมศักดิ  หมอดินอาสาประจําตําบล



          5/3 หมู่ 4 ตําบลบึง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี






     ความเป นมา                                               การจัดการพื นที

                                                                หลังการเก็บเกี ยว ตัดแต่งกิ งแขนง
             หมอดินบุญยืน ได้เริ มทําเกษตรผสมผสาน และปลูก
                                                                ใส่ปุ ยหมักพด.1 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น
    มังคุด ป  2535 ในช่วงแรกต้องประสบป ญหาดินทรายจัด
                                                                ใส่นํ าหมักชีวภาพพด.2 จากปลา ฉีดพ่น 1: 500
    ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และนํ าไม่เพียงพอต่อการเกษตร
                                                                ใส่ปุ ยอินทรีย์เคมีสูตร 6-3-3 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้น และปุ ย
    ต่อมาได้ขอรับการสนับสนุนจาก หน่วยงานในกระทรวง-
                                                                เคมีสูตร 16-16-16 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้น
    เกษตรและสหกรณ์ และป  2538 มีโอกาสเข้ามาเป นหมอดิน
                                                                มังคุดแตกยอดอ่อนค่อยสังเกตแมลงศัตรูพืช และฉีดพ่นสาร
    อาสา จึงได้เรียนรู้วิธีการปรับปรุงบํารุงดินและนํานวัตกรรม
                                                                เคมีกําจัด
    ของกรมพัฒนาที ดินมาปรับใช้ในพื นที ของตนเอง
                                                                ระยะแตกใบอ่อน ใส่ปุ ยเคมีสูตร 8-24-24 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้น

     ข้อมูลดิน                                                  รดนํ าระยะเวลา 30 นาที (วันเว้นวัน)
                                                                ระยะก่อนออกดอก ฉีดพ่นสาร Ca B  20 มิลลิลิตร ผสมกับ
             ชุดดินโคกเคียน(Ko) ดินร่วนละเอียดลึกมาก ดินบนมี
                                                                ฮอร์โมนไข่ 50 มิลลิลิตร     และนํ า 20 ลิตร
    เนื อดินร่วนปนทราย สีนํ าตาลปนเทาหรือเทา ปฏิกิริยาดิน
                                                                ระยะออกดอกติดผล ใส่ปุ ยเคมีสูตร 13-21-21 อัตรา 1
    เป นกรดจัดถึงเป นกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินล่างมี
                                                                กิโลกรัมต่อต้น
    เนื อดินร่วนเหนียวปนทราย สีเทา พบจุดประสีเหลืองหรือสี
                                                                ระยะพัฒนาผล รดนํ าให้ชุ่มทุกวันจนเก็บเกี ยว
    นํ าตาลตลอดชั นดิน ปฏิกิริยาดินเป นกรดจัดมากถึงเป นกรด
    จัด (pH 4.5-5.5) ความอุดมสมบูรณ์ตํ า มีเนื อดินเป นดิน
                                                               เทคโนโลยี
    ปนทรายและขาดแคลนนํ า

                                                                 การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 ผลิตปุ ยหมัก
    ต้นทุนการผลิตป  2567                                         การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ผลิตนํ าหมักชีวภาพจากปลา
                                                                 ผลิตนํ าหมักฮอร์โมนไข่ ไข่ไก่ 30 ฟอง นํ าตาลทราย 1/2
      ต้นทุนรวม  12,000  บาท/ไร่
                                                                 กิโลกรัม นมเปรี ยว 2 ขวด ป ดฝาไม่สนิท หมักทิ งไว้ 15 วัน
         - ค่าปุ ยและสารเคมี  6,900  บาท/ไร่
                                                                 ใช้อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อนํ า 20 ลิตร
         - ค่านํ ามันเชื อเพลิง  2,350  บาท/ไร่
                                                                 การใช้ปุ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
         - ค่าวัสดุและซ่อมแซม  2,750  บาท/ไร่
                                                                 จําหน่ายผลผลิตผ่านเพจ Facebook และ LINE
      ผลตอบแทน  15,000  บาท/ไร่

      กําไร  3,000  บาท/ไร่                                      ผลสําเร็จ
      ปริมาณผลผลิต  800 กก./ไร่ (ผลผลิตเฉลี ย1,300 -
                                                                         ลดต้นทุนการผลิต เพิ มปริมาณผลผลิต ลดการใช้สาร
      1,500 กก./ไร่ ผลผลิตลดลง เนื องจากสภาพภูมิอากาศ
                                                               เคมี ทําเกษตรผสมผสาน ผลผลิตมีคุณภาพดี สิ งแวดล้อมดี
      เปลี ยนแปลง)
                                                               ผู้บริโภคมั นใจ ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตดีอย่างยั งยืน



                     สถานีพัฒนาที ดินชลบุรี สํานักงานพัฒนาที ดิน เขต 2 กรมพัฒนาที ดิน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106