Page 97 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 97

80
                                                                                               หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน





                                                                  น                                                        80
                                                                  นายเส็ง ทองเหง า ายเส็ง ทองเหง า


                                                                           หมอดินอาสาประจําตําบล  ินอาสาประจําตําบล
                                                                           หมอด
                                                                     เกษตรกรต นแบบการปลูกไม ผล (เงาะ)
                                                                     เกษตรกรต นแบบการปลูกไม ผล (เงาะ)
                                                                          ประธานกลุ มแปลงใหญ ไม ผล
                                                                          ประธานกลุ มแปลงใหญ ไม ผล
                                                               บ านท าโปร งทอง หมู  5 ตําบลโนนทอง อําเภอนายูง
                                                               บ านท าโปร งทอง หมู  5 ตําบลโนนทอง อําเภอนายูง
                                                                                 จังหวัดอุดรธานีี
                                                                                 จังหวัดอุดรธาน





                       ความเป นมา                                                 การจัดการ


        พื้นที่ทําการเกษตรส วนใหญ ในเขตอําเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี      ในช วงระยะเวลาปลูกตั้งแต  0- 4 ป  ช วงนี้ก็จะมีการให นํ้าและ
      มีการปลูกยางพารามากที่สุด รองลงมาจะเป น ข าว และไม ยืนต น  ปุ ยแบบปกติ โดยใช ปุ ยหมัก พด. 1 อัตรา 30-50 กิโลกรัม/ต น/
      เนื่องจากราคายางพาราราคาที่ไม ค อยแน นอน จึงทําให เกษตรกร  ป  นํ้าหมักชีวภาพ พด. 2 อัตรา 10 ลิตร ต อนํ้า 1000 ลิตรฉีด
      หลายๆคนมีแนวคิดที่อยากจะปรับเปลี่ยนพื้นที่ ทดลองปลูกพืช    พ นเดือนละ 1-2 ครั้ง ใส ปุ ยเคมีสูตรเสมอ (หรือ 15-15-15)
      ชนิดอื่นๆบ าง จึงเริ ่ มจากปลูกไม ผล เช น เงาะ ทุเรียน มังคุด  จํานวน 2-5 กิโลกรัม (จํานวน 2 ครั้ง)/ต น/ป  เงาะที่อายุปลูก 4
      ลองกอง เป นต น                                             ป ขึ้นไป ถึงจะมีการให ผลลิตได
         หมอดินเส็ง ทองเหง า มีพื้นที่เอกสิทธิ ์ เป น ส.ป.ก. 4-01 มีเนื้อที่  การป องกันกําจัดศัตรูพืช
      ทั้งหมด 37 ไร  2 งาน ปลูกยางพารา จํานวน 22 ไร  นอกจากนั้น   - ช วงแตกใบอ อน ได แก  หนอนคืบกินใบ ควรฉีดพ นด วยคาร บา
      เป นพื้นที่แหล งนํ้า และที่อยู อาศัย เมื่อป  พ.ศ. 2544 ได ทดลอง   ริล หรือคาร โบซัลแฟน
      ปรับเปลี่ยนพื้นที่มาทดลองปลูกเงาะ จํานวน 4 ไร  และ ทุเรียน   - ช วงออกดอกและติดผล ได แก  ราแป ง ต นที่เริ ่ มพบให ใช
      จํานวน 1 ไร  โดยใช ความรู และภูมิป ญญาชาวบ าน ปรับปรุงบํารุง    กํามะถันผง ฉีดพ นในช วง เช าหรือเย็น
      ดินปลูกไม ผลเป นรายเฉพาะหลุม                               - แต ถ ามีโรคหนาแน นมากให พ นด วยสารเคมีพวกเบนดามิลหรือ
                                                                 ไดโนแคป ระยะห าง 7 - 10 วันต อครั้ง
                                                                 ผลผลิตเงาะโรงเรียนของอําเภอนายูง จะเริ ่ มเก็บผลผลิตได
                        เทคโนโลยี                                ช วงประมาณเดือน มิ.ย.-ก.ค. โดยอัตราผลผลิตอยู ที่ประมาณ
                                                                 1.5-2 ตัน/ไร /ป
       เกษตรกรได มีการทําระบบอนุรักษ ดินและนํ้า   สร างคันดิน และขั้น
                                                                  หมอดินเส็ง ทองเหง า ได ปรับเปลี่ยนพื้นที่จากปลูกยางพารา
      บันไดดินเพื่อปลูกไม ผล
                                                                 มาปลูกไม ผล (เงาะ) ทําให เกษตรกรมีรายดีที่ขึ้น  ได ค าตอบแทน
      วิธีการปลูก จะขุดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร ระยะห าง
                                                                 ต อไร ที่สูงขึ้น เงาะ 1 ไร  ให ผลผลิตสูงสุดประมาณ 2 ตัน คิด
      ระหว างต นและแถว ประมาณ 10x10 เมตรใช ปุ ยคอก ปุ ยหมัก
                                                                 ตามราคาตลาดกิโลกรัมละ 25-30 บาท ยอดรวมก็ประมาณ
      อัตรา 15-25 กิโลกรัม/หลุม ร วมกับการใช ปุ ยเคมี
                                                                 50,000-60,000 บาทต อไร  หักต นทุนออกก็ถือว าอยู ในเกณฑ ที่
       การให นํ้า ใช ระบบการให นํ้าแบบสูบขึ้นถังสูง จ ายนํ้าแบบสปริง
                                                                 สูง ส วนรสชาติของเงาะ อําเภอนายูง จะมีรสชาติหวาน กรอบ
      เกอร  ต นละ 4 จุด  และใช ระบบนํ้าหยดเฉพาะต น เพื่อเป นการ
                                                                 เนื้อร อน จะไม ฉํ่านํ้า ทําให อร อยเป นเอกลักษณ เฉพาะตัว การ
      ประหยัดนํ้า การให นํ้าจะให ทุกวัน วันละ 1 ชั่วโมง และจะมีการงด
                                                                 ขายผลผลิต จะขายที่หน าสวนเลย ตัดตามที่ลูกค าสั่งจองผ าน
      ให นํ้าช วงก อนที่เงาะจะออกดอก เพื่อกระตุ นการออกดอกของ
                                                                 ช องทางออนไลน
      เงาะ
                        กลุ มชุดดิน


       กลุ มชุดดินที่ 31
        ชุดดินเลย (Lo) ชุดดินวังไห (Wi)
       สมบัติของดิน
        เป นกลุ มชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู กับที่ หรือจากการ
       สลายตัวผุพังแล วถูกเคลื่อนย ายมาทับถม ของวัสดุเนื้อละเอียด
       หรือจากวัตถุต นกําเนิดดินพวกตะกอนลํานํ้า พบบริเวณพื้นที่
       ดอน ที่เป นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป นเนินเขา เป นดินลึกที่มีการ
       ระบายนํ้าดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเป นพวกดินเหนียว สีดินเป น
       สีนํ้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป นกรดจัดถึงเป นกลาง
                                                                                สถานีพัฒนาที่ดินอุดรธานี
                                                              สํานักงานพัมนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102