Page 15 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


 แบบฟอร์มที่ 6 ส่วนที่ 1.1 สรุปลักษณะสำคัญขององค์การ (ไม่เกิน 3 หน้า)


 ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ: (ที่สำคัญ)   พันธกิจ : 1) สำรวจ วิเคราะห์ จำแนกดิน และสำมะโนที่ดิน เพื่อวางแผนการใช้ที่ดินด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2) พัฒนางานวิจัยเพื่อ
    ผู้ส่งมอบ : ผู้รับจ้าง บริษัท ห้างร้าน และหน่วยงานภาครัฐ    สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมการจัดการดินที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 3) สร้างศูนย์กลางข้อมูลอัจฉริยะทางดินของ
    พันธมิตร : หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานภายนอก  ประเทศ เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินอย่างยั่งยืน 4) พัฒนาที่ดินด้วยระบบการบริหารจัดการเชิงรุก ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม

 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ทส. มท. อว. วช. อบต.)    ด้านการวางแผน ถ่ายทอดเทคโนโลยี อนุรักษ์ดินและน้ำ และปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อรักษาสมดุลของดิน ที่ดิน และนิเวศเกษตร

 คู่ความร่วมมือ : สถาบันการศึกษา องค์กรระหว่างประเทศ องค์การมหาชน ภาคเอกชน   5) ยกระดับองค์กรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรรม
 ความต้องการ: 1) ข้อมูลดิน เทคโนโลยี องค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินมีความ  วิสัยทัศน์ : เป็นองค์การอัจฉริยะทางดิน เพื่อขับเคลื่อนการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม 15 ล้านไร่ ภายในปี 2570

 ถูกต้อง ทันสมัย บริการได้สะดวก รวดเร็ว 2) ความร่วมมือทางวิชาการ 3) การบูรณา  ค่านิยม : TEAM for Soils (ทีมดีดินดี)  (T : Team work (สร้างทีม), E : Energetic (ทำงานเชิงรุกอย่างมีพลัง), A : Agile (คล่องแคล่ว),

 การ การทำงานร่วมกันในพื้นที่ 4) การมีธรรมาภิบาล   M : Move forward (มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน)
    วัฒนธรรมองค์การ : บริการด้วยใจ ใฝ่เรียนรู้ ยึดหลักวิชาการ
 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย:  ชุมชนในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาครัฐ    งบประมาณ: 4,489,603,100.- บาท รายได้:  19,752,001.39 บาท (ปี 2564)

 สถาบันการศึกษา ความต้องการ/ ความคาดหวัง: 1) ข้อมูลดิน เทคโนโลยี องค์ความรู้  จำนวนบุคลากร: ข้าราชการ 1,392 คน  ลูกจ้างประจำ 341 คน  และพนักงานราชการ 1,319 คน รวมทั้งสิ้น 3,052 คน (ธ.ค. 64)

 ด้านการพัฒนาที่ดินมีความถูกต้อง ทันสมัย บริการได้สะดวก รวดเร็ว  2) การพัฒนา  กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ: 1) พ.ร.บ.พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 2) มติคณะรัฐมนตรีเรื่องการจำแนกประเภทที่ดินและป่าไม้ถาวร

 ที่ดินที่ไม่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อพื้นที่และชุมชนในพื้นที่   3) กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข และอัตราค่าใช้จ่ายในการบริการแผนที่หรือข้อมูลทางแผนที่เป็นการเฉพาะราย พ.ศ. 2555

 4) ระเบียบคณะกรรมการพัฒนาที่ดินว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับคำขอรับบริการแผนที่หรือข้อมูลทางแผนที่เป็นการเฉพาะ
 สมรรถนะหลักขององค์การ: 1) มีความเชี่ยวชาญในเรื่อง ข้อมูลดิน วางแผนการใช้ที่ดิน   ราย พ.ศ. 2553  5) ระเบียบกรมพัฒนาที่ดิน ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2562

 การจัดการดิน และเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ทั้งด้านวิชาการและปฏิบัติการเป็นอย่าง  ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ: ระบบปฏิบัติงาน 3 ระบบ ประกอบด้วย 8 กระบวนการหลัก และ 9 กระบวนการสนับสนุน

 ดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรดินเกิดประโยชน์สูงสุด 2) มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี  ครอบคลุมภารกิจตามยุทธศาสตร์ โดยใช้แนวคิด PDCA ในการบริหารแผนงานและยุทธศาสตร์ ตั้งแต่ การวางแผน การนำไปปฏิบัติ
 ภูมิสารสนเทศ (GIS) ด้านข้อมูลแผนที่ดิน และชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน (FGDS)   การตรวจสอบและติดตามประเมินผล นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทำงาน โดยใช้หลักการของ SMART LDD  ด้วย SIPOC Model

 และนำเครื่องมือสมัยใหม่มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น PMQA, Process Management, SWOT Analysis, PESTEL Analysis,
 แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ: ภายในประเทศ : 1) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดิน  2S4M, As is Process Management, To be Process Redesign, Fish bone diagram, service blueprint, HR scorecard, Organization

 แห่งชาติ  2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3) หน่วยงานให้บริการวิเคราะห์ดิน เช่น กรม  Design เป็นต้น เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน ให้บรรลุผลสำเร็จตาม LDD Excellent Model

 วิชาการเกษตร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ห้องปฏิบัติการกลาง
 (ประเทศไทย) สถาบันการศึกษาและภาคเอกชน 4) หน่วยงานให้บริการ และสนับสนุนปัจจัยการ

 ผลิต เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  เทคโนโลยีการสื่อสารและการให้บริการ ที่สำคัญ : 1) เทคโนโลยีสื่อสาร (1) MPLS  (2) C Internet  (3) Cloud Computing  (4) AI
 แห่งประเทศไทย 5) สำนักงาน ก.พ.ร. 6) สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 7) สำนักงาน  2) บริการที่สำคัญ (1) ระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน์ (Agri Map Online) (2) ระบบแผนที่ทางเลือกพืช

 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 8) กรมการศาสนา    เศรษฐกิจ (LDD Zoning) (3) Mobile Application (ปุ๋ยรายแปลง, คลิปเด็ดหมอดิน,กดดูรู้ดิน) (4) ระบบสารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อวาง

 ภายนอกประเทศ : 1) ประเทศสมาชิกเครือข่ายด้านดินระดับภูมิภาคเอเชีย(ASP) 2) UNEP   แผนการใช้ที่ดินเกษตรกรรายแปลง (LDD On Farm)  (5) ฐานข้อมูลการตอบโต้กับผู้รับบริการด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI
 World Conservation Monitoring Center อ้างถึงใน UNCCD (2011) Desertification a   Chatbot : คุยกับน้องดินดี (6) e-Service ได้แก่ บริการตรวจสอบดินเพื่อการเกษตร ขอรับบริการแผนที่ บริการวัสดุการเกษตร

 visual synthesis : เรื่องการแปรสภาพเป็นทะเลทราย และ Land Degradation and   ขอรับบริการสระน้ำในไร่นา ดินออนไลน์ บริการข้อมูลดินและการใช้ที่ดิน บริการตรวจสอบแนวเขตป่าไม้ถาวรเบื้องต้น ห้องสมุด
 Biodiversity Loss in Southeast Asia (2011)   อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น


 การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน: 1) การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals)2030  2) นโยบายรัฐบาล/แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี/แผนแม่บท 3) นโยบาย Thailand 4.0 การนำเทคโนโลยี

 สมัยใหม่มาใช้ในการเกษตรมากขึ้น 4) แผนปฏิรูปประเทศ/ภาคการเกษตร 5) กรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 6) โมเดลเศรษฐกิจใหม่(BCG) 7) การเข้าสู่ระบบราชการดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ 8) นโยบายสำคัญ

 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9) ความแปรปรวนของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 10) สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 11) การปรับตัวขององค์กรและบุคลากรที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20