Page 29 - รายงานการใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง Using of Remote Sensing Data for Soil Fertility Assessment in Areas at Risk of Acidic soil and Saline Soil of Central Thailand
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           23






                       0.1 - 5.0 dS/m TDS (mg/l) = EC (dS/m) x 800 ส า หรับ EC ที่มีค่า > 5.0 dS/m Osmotic pressure
                       (atm) = EC (dS/m) x 0.40 ส า หรับ EC ที่มีค่าระหว่าง 3 - 30 dS/m (อรุณี, มปป.) การวัดความเค็มดินใน
                       ภาคสนาม ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาแต่เพื่อความสะดวกและรวดเร็วจะวัดโดยตรงจากตัวอย่างดินที่ท าให้อิ่มตัว
                       ด้วยน ้า (saturated soil paste) โดยค่อยๆ เติมน ้าลงไปในดินและกวนดินให้เข้ากันจนมีลักษณะคล้ายยาสีฟัน

                       น าไปใส่ในถ้วยที่เรียกว่า Bureau of soils cup ต่อเข้ากับเครื่องวัดค่าการน าไฟฟ้าภาคสนามในการท า
                       แผนที่ความเค็มดินในแปลงขนาดใหญ่ มีเครื่องมือวัดความเค็มภาคสนามที่ได้พัฒนาขึ้นมาใช้กับ GPS และ
                       เครื่องบันทึกข้อมูลอัตโนมัติ (data logger) ในการท างาน เช่น fourelectrode resistivity sensors
                       เป็นเครื่องมือภาคสนามที่ใช้สมการคณิตศาสตร์จากข้อมูลทางเคมีฟิสิกส์ ของค่าการน า ไฟฟ้าของน ้าในดิน

                       ปริมาตรน ้าในดิน ปริมาตรอนุภาคดิน มาประเมินค่าความเค็มดินโดยวิธี model/field-estimates
                       techniqueelectromagnetic-induction conductivity (EM) sensors ประเมินค่าความเค็มดินโดย
                       วิธี regression model/ground-truthing technique ระหว่างค่า ECa ที่เครื่องบันทึกได้จากค่าการ
                       เหนี่ยวน าแม่เหล็กไฟฟ้าในดินกับค่า ECe ของตัวอย่างดินที่เก็บมาวิเคราะห์ใช้ในที่มีสภาพพื้นที่เหมือนกัน

                       และดินที่มีความชื้น วิธีการนี้สามารถวัดค่าการน าไฟฟ้าลงไปตามระดับความลึกของดิน ท าได้รวดเร็ว โดย
                       ไม่ต้องเสียเวลาและงบประมาณในการเก็บและวิเคราะห์ดินจ านวนมาก (อรุณี, มปป.)
                               3.1.3 ปริมาณอินทรียวัตถุ

                                     อินทรียวัตถุในดิน (Organic matter) หมายถึง อินทรียสารทุกชนิดที่มีอยู่ในดิน ซึ่งได้จากซาก
                       พืช ซากสัตว์ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน สิ่งขับถ่ายของมนุษย์และสัตว์สลายตัวทับถมอยู่ในดิน รวมถึง
                       อินทรียสารที่รากพืชปลดปล่อยออกมา และที่จุลินทรีย์ดินสังเคราะห์ขึ้นมา  อินทรียวัตถุในดินจึงประกอบด้วย
                       อินทรียสารหลายชนิด คือ พวกสารประกอบอินทรีย์ไนโตรเจน สารประกอบอินทรีย์ ฟอสฟอรัส สารประกอบ
                       อินทรีย์ก ามะถัน เป็นต้น  เมื่ออินทรียวัตถุสลายตัวโดยจุลินทรีย์ถึงขั้นสุดท้ายจะได้ฮิวมัส (Humus) ซึ่งเป็น

                       สารอินทรีย์ประกอบเชิงซ้อน ฮิวมัสมีความหมายครอบคลุมตั้งแต่ส่วนของซากพืชหรือซากสัตว์ที่ก าลังสลายตัว
                       เซลล์ของจุลินทรีย์ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่และส่วนของจุลินทรีย์ที่ไม่มีชีวิต ไปจนถึงสารอินทรีย์ที่ได้จากการย่อยสลาย
                       หรือส่วนที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมาใหม่ โดยไม่รวมถึงรากพืชหรือเศษซากพืชหรือซากสัตว์ที่ยังไม่ย่อยสลาย ดังนั้น

                       อินทรียวัตถุในดินจึงประกอบไปด้วยสารอินทรีย์แทบทุกชนิดที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ อินทรียวัตถุในดินนี้นับได้
                       ว่าเป็นองค์ประกอบส าคัญของดินที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อสมบัติต่าง ๆ ของดิน ทั้งที่เป็นสมบัติทางเคมี ทาง
                       ฟิสิกส์ และ ทางชีวภาพ ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความสามารถในการให้ผล
                       ผลิตของดิน รวมถึงการพันาระบบนิเวศของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ โดยตรง ฮิวมัสประกอบขึ้นจากสารกลุ่มต่าง ๆ

                       เช่น Methyl, Phenolic, Quinone และ Carboxylic Groups ที่มีอยู่ในดิน  ฮิวมัสแบ่งได้เป็นสองส่วน คือ
                       Humic Acid และ Fulvic  Acid  ฮิวมัสไม่ใช่สารที่คงทนถาวร แต่อัตราการสลายตัวของฮิวมัสจะช้ากว่าการ
                       สลายตัวของอินทรียสารที่เป็นต้นก าเนิดของฮิวมัส และมีบทบาทส าคัญ ในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง ดูดซับน้ า
                       ได้ดี และมีบทบาทส าคัญต่อการเกาะยึดกันเป็นเม็ดของอนุภาคดิน อินทรียวัตถุในดินมีอิทธิพลต่อสมบัติของดิน

                       ทั้งทางกายภาพ ทางเคมีและทางชีวภาพ  เช่น มีผลต่อการเกิดสีของดิน ช่วยให้ดินทรายมีการจับตัวเป็นก้อน
                       การอุ้มน้ า การถ่ายเทอากาศ การดูดซับประจุบวก เพราะมีประจุลบจ านวนมาก และมีความสามารถในการดูดซับ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34